เปลี่ยนแปลงข้อกำหนดและปรับปรุงการอ้างอิง
ตามที่กองบรรณาธิการวารสารอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กำหนดหลักเกณฑ์ในการเขียนเอกสารอ้างอิงโดยใช้รูปแบบ APA 7th edition นั้น
Read more about เปลี่ยนแปลงข้อกำหนดและปรับปรุงการอ้างอิงISSN (Print): 2773-9848
ISSN (Online): 2697-3979
วารสารอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ [JOIS] เป็นวารสารวิชาการรายปี (2 ฉบับต่อปี) จัดทำโดยคณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เพื่อเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้คณาจารย์ ข้าราชการ และนักวิชาการทั่วไป ทั้งในประเทศและต่างประเทศได้มีโอกาสเสนอผลงานวิชาการเพื่อเผยแพร่และแลกเปลี่ยนวิทยาการในสาขาอิสลามศึกษา มุสลิมศึกษา กฎหมายอิสลาม เศรษฐศาสตร์อิสลาม และตะวันออกกลางศึกษา
วารสารอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รับตีพิมพ์ผลงานวิชาการในสาขาอิสลามศึกษามุสลิมศึกษา ได้แก่:
บทความต้นฉบับที่ส่งเข้าสู่ระบบของวารสาร จะได้รับการตรวจสอบเบื้องต้นโดยกองบรรณาธิการวารสารเพื่อตรวจสอบความสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายและขอบเขตของวารสาร และบทความทุกบทความจะผ่านการพิจารณาโดยผู้ทรงคุณวุฒิที่เชี่ยวชาญอย่างน้อย 3 ท่าน
บทความที่นำเข้าประเมิน คือ บทความวิจัยและบทความวิชาการ ส่วนบทความปริทัศน์หนังสือ/บทวิจารย์หนังสือ จะไม่ประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิ
โดยใช้การประเมินแบบ Double Blinded (ไม่ระบุชื่อผู้แต่งและผู้ทรงคุณวุฒิ)
รับพิจารณาตีพิมพ์ 4 ภาษา:
เป็นวารสารวิชาการรายปี (2 ฉบับต่อปี) ฉบับละ 8 - 10 บทความ
กองบรรณาธิการวารสารอิสลามศึกษา ได้เรียกเก็บค่าธรรมเนียมการลงตีพิมพ์บทความในวารสารฯ บทความละ 2,000 บาท
โดยจะมีการเรียกเก็บก็ต่อเมื่อ บทความได้รับการพิจารณาจากกองบรรณาธิการฯ และมีการติดต่อทาบทามผู้ทรงคุณวุฒิเรียบร้อยแล้ว
หมายเหตุ:
คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ตามที่กองบรรณาธิการวารสารอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กำหนดหลักเกณฑ์ในการเขียนเอกสารอ้างอิงโดยใช้รูปแบบ APA 7th edition นั้น
Read More Read more about เปลี่ยนแปลงข้อกำหนดและปรับปรุงการอ้างอิงฉบับนี้ ได้กล่าวถึงประเด็นความหลากหลายทางวัฒนธรรม การศึกษา และการพัฒนา โดยเน้นความสำคัญของการปรับตัวในบริบทที่เปลี่ยนแปลง ทั้งในด้านสังคม ศาสนา และการศึกษา ตลอดจนได้ชี้ให้เห็นถึงความท้าทายที่บุคคลและชุมชนต้องเผชิญในการอยู่ร่วมกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม พร้อมเสนอแนะแนวทางเชิงนโยบายเพื่อส่งเสริมความเข้าใจ ความครอบคลุม และความร่วมมือในสังคมที่มีความหลากหลาย โดยได้ให้กรอบแนวคิดที่ครอบคลุมสำหรับการสนับสนุนความหลากหลายควบคู่กับการส่งเสริมความเป็นเอกภาพและความเสมอภาคในสังคมที่เชื่อมโยงกันมากขึ้น