ปัจจัยที่มีผลต่ออัลวะสะฏียะฮ์ของนักศึกษาคณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ผู้แต่ง

  • ยุทธนา เกื้อกูล คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
  • นิเลาะ แวอุเซ็ง คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
  • มูหัมมัดรอฟลี แวหะมะ คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

คำสำคัญ:

การปรับตัวของนักศึกษา, อัลวะสะฏียะฮ์, คณะวิทยาการอิสลาม, ปัจจัยทางสังคมและครอบครัว, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

บทคัดย่อ

จุดประสงค์  เพื่อศึกษาปัจจัยและการจัดอันดับปัจจัยที่มีผลต่ออัลวะสะฏียะฮ์ของนักศึกษาคณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วิธีการศึกษา งานวิจัยนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 241 คน และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่และค่าร้อยละ

ผลการศึกษา  พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่ออัลวะสะฏียะฮ์ของนักศึกษามากที่สุดคือปัจจัยด้านสังคม โดยมีผู้ตอบจำนวน 207 คน คิดเป็นร้อยละ 17.6 รองลงมาคือปัจจัยด้านครอบครัว มีผู้ตอบจำนวน 192 คน คิดเป็นร้อยละ 16.3 และปัจจัยด้านระบบการดูแลหอพักมีผลน้อยที่สุด มีผู้ตอบจำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 3.6 และผลการจัดอันดับปัจจัยที่มีผลต่ออัลวะสะฏียะฮ์ของนักศึกษาพบว่า ปัจจัยด้านครอบครัวมีผลมากที่สุด โดยมีผู้ตอบจำนวน 164 คน คิดเป็นร้อยละ 68.0 รองลงมาคือปัจจัยด้านสังคม มีผู้ตอบจำนวน 88 คน คิดเป็นร้อยละ 36.5 และปัจจัยด้านมัสยิด มีผู้ตอบจำนวน 57 คน คิดเป็นร้อยละ 23.7 และปัจจัยด้านระบบการดูแลหอพักและสื่อต่าง ๆ มีผลน้อยที่สุด มีผู้ตอบจำนวน 103 คน คิดเป็นร้อยละ 42.7

การนำผลการวิจัยไปใช้  สถาบันการศึกษา ครอบครัว สังคม และบุคลากรที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดูแลนักศึกษาสามารถใช้ผลการวิจัยนี้เป็นแนวทางในการปลูกฝังและส่งเสริมนักศึกษาด้านการใช้ชีวิตตามหลักอัลวะสะฏียะฮ์ที่เหมาะสมในสังคมพหุวัฒนธรรม

References

Abūlawī, A. A. (n.d.). Uṣūl al-Tarbiyyah al-Islāmiyyah [The Principles of Islamic Education]. Dār Ibn al-Jawzī li al-Nashr wa al-Tawzīʿ.

Alumni Arab Students Association of Thailand. (n.d.). The Holy al-Qur’ān with Thai Translation. Kingdom of Saudi Arabia (Al-Madīnah al-Munawwarah): King Fahd Centre for the Printing of the Holy al-Qur’ān.

Al-Amīn, A. A. M. (2023). Wasatiyyah al-Aqīdat al-Islāmiyyah Wa Atharuhā Fī Tahqīq al-Amn al-Fikrī. Majallah Abhāth, 11(1). https://doi.org/10.52840/1965-011-001-010

Al-Asqalānī, A. B. ‘A. B. H. (1989). Fathu al-Bārī Sharh Sahīh al-Bukhārī [The Opening of the Creator's Explanation of Sahih al-Bukhari]. Dār al-Kutub al-‘Ilmiyyah.

Bā Abdullah, M. B. K. M. B. (1994). Wasatiyyah Ahl al-Sunnah Bain al-Firaq. Kulliyah al-Da’wah Wa Usūl al-Dīn, Jāmi‘ah al-Islāmiyyah Bi al-Madīnah al-Munawwarah. Dār al-Rāyah. https://books.islamway.net/1/549_babudallah_wasitiatahlalsna.pdf

Farīd, A. (2004). al-Tarbiyyah ‘Alā Manhaj ’Ahli al-Sunnah wa al-Jamā‘ah [Education Based on the Methodology of Ahl al-Sunnah wa al-Jamā‘ah]. Riyadh: Dār Taiyibah li al-Nashar wa al-Tawzī‘ al-Mu‘āṣir.

Al-Haq, M. A. (2018). Wasatiyyah al-Aqīdat al-Islāmiyyah Wa Mazāhiruhā Fī al-Mujtama’ al-Saūdī [The Moderation of Islamic Creed and Its Manifestations in Saudi Society]. Majallah Jāmi‘ah al-Malik Abd al-Azīz: al-Adāb Wa al-‘Ulūm al-Insāniyyah, 1–19.

Ibn Taimiyyah, A. B. ‘A. B. ‘A. B. ‘A. T. (1983). al-‘Ubūdiyyah [Servitude]. Riyadh: Dār al-Ma‘ārif.

Al-Mahmūd, ‘A. ‘A. (1994). ‘Idad al-Mu’allim Min Manzūr al-Tarbiyyat al-’Islāmiyyah [The Preparation of Teachers from the Perspective of Islamic Education]. Madīnat al-Munawwarah: Dār al-Bukhārīy.

Al-Maidānī, A. R. H. H. (1996). al-Wasatiyah Fī al-Islām [Moderation in Islam]. Mu’assasah al-Raiyān.

Muslim, A. H. M. B. H. Q. N. (1996). Sahīh Muslim [The Authentic Hadith Collection of Muslim]. Riyadh: Dār ‘Aālam al-Kutub.

Al-Nahlāwī, ‘A. (1994). Min ’Asālīb al-Tarbiyyat al-’Islāmiyyah al-Tarbiyyah bi al-‘Ibrah [Methods of Islamic Education: Education Through Lessons]. Dār al-Fikr al-Mu‘āsir.

Al-Nahlāwī, ‘A. (2007). Usūl al-Tarbiyyah Wa Asālībuhā Fī al-Bait Wa al-Madrasah Wa al-Mujtama’a [Principles of Education and Its Methods in the Home, School, and Society]. Dār al-Fikr.

Al-Qaradāwī, Y. (2012). Fiqh al-Wasatiyat al-Islāmiyah Wa al-Tajdīd [The Jurisprudence of Islamic Moderation and Renewal]. Dār al-Shurūq.

Rājih, ‘I. S. A. (2016). al-Wasatiyah Wa Mazāhiruhā Fī al-Qur’ān al-Karīm (Dirāsah Maudū‘iyyah) [Moderation and Its Manifestations in the Noble Qur'an: A Thematic Study]. Kulliyah al-Dirāsat al-‘Ulyā, Dāirah al-Qur’ān al-Karīm Wa Ulūmih, Shu‘bah al-Tafsīr Wa Ulūmih, Sudan.

Al-Sallābī, M. M. (2001). al-Wasatiyah Fī al-Qur’ān al-Karīm [Moderation in the Noble Qur'an]. Maktabah al-Sahābah.

Al-Sudais, ‘A. ‘A. (2017). Bulūgh al-A‘āmāl Fī Tahqīq al-Wasatiyyah Wa al-I’tidāl [Attaining Good Deeds in Achieving Moderation and Balance]. Maktabah al-Malik Fahad al-Wataniyyah Athna al-Nashar.

Al-Tahhān, M. M. (2002). al-Tarbiyyah Wa Dawruhā Fī Tashkīl al-Sulūk [Education and Its Role in Shaping Behavior]. Al-Taba‘at al-’Ulā.

Al-Yahyā, A. B. A. (2008). al-Wasatiyyah al-Tarīq Ilā al-Ghad [Moderation: The Path to the Future]. Dār Kunūz Ishbiliya li al-Nashar Wa al-Tauzī’a.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

21-12-2024

How to Cite

เกื้อกูล ย., แวอุเซ็ง น., & แวหะมะ ม. (2024). ปัจจัยที่มีผลต่ออัลวะสะฏียะฮ์ของนักศึกษาคณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ . วารสารอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 15(2), 45–60. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JOIS/article/view/280576