การบริหารการจัดการที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการผลิตยางพาราในจังหวัดอุบลราชธานี

Main Article Content

เจริญ โสภา
เขมรัฐ สังขะวรรณ
เจนจิรา ธิสาเวช
นิภาวรรณ ทาลา

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการบริหารการจัดการที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการผลิตยางพาราในจังหวัดอุบลราชธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือเกษตรกรชาวสวนยางพาราในเขตพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี   ในกรณีที่ไม่ทราบจำนวนประชากรชัดเจนจากสูตรคอแครน จำนวน 385 ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลมีค่าความเชื่อมั่น 0.945 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการทดสอบค่าถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า ด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัดการความรู้ ด้านคุณภาพ ด้านแหล่งข้อมูลการผลิต ด้านที่ตั้งทำเลที่ตั้ง และด้านขนาดพื้นที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการผลิตยางพาราในจังหวัดอุบลราชธานี


 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กุลธิดา ตันสกุล. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตยางพาราของเกษตรกรในพื้นที่ภาคใต้ฝั่งตะวันออกของประเทศไทย. สงขลา. สาขาวิชาพัฒนาการเกษตร. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
จักรกิจ พินิจ (2556). ความคิดเห็น ความต้องการและปัญหาของเกษตรกรผู้ปลูกยางพาราใจจังหวัดเชียงรายต่อการส่งเสริมปลูกยางพาราของสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส่วนยาง. เชียงราย. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
ญาณิศา สมสกุล. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความยั่งยืนของโซ่อุปทานอุตสาหกรรมยางพารา กรณีศึกษา : อุตสาหกรรมยางพาราในเขตอำเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงราย.ปทุมธานีมหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ณัฏฐนันท์ โพธิจันทร์. (2559). ศึกษาความต้องการการช่วยเหลือของเกษตรกรชาวสวนยางในความรับผิดชอบของสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยางอำเภอแกลง. จันทบุรี. สาขาวิชาบริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยบูรพา.
ธวัฒน์ชัย เทพนวน (2557). การใช้พลังงานของโรงงานอบยางแผ่นดิบพลังงานรวมแสงอาทิตย์ และชีวมวล. พัทลุง. คณะวิทยาศาสตร์. มหาวิทยาลัยทักษิณ.
มนัสชนก บุญอุทัย. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเกษตรของเกษตรกรชาวสวนยาง. กรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
ปิยะพงษ์ บุญสรรค์. (2556). อิทธิพลของปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมรร่วมกับซีโอไลท์ต่อผลผลิตยางพารา. กาฬสิน. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน.
สุวิมล ศิริวัล. (2557). ต้นทุนและผลตอบแทนในการลงทุนโครงการปลูกสวนยางพาราในจังหวัดลำปาง.ลำปาง.คณะบริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยเนชั่น.
วิลาวรรณ มณีบุตร(2559). เกษตรกรชาวสวนยางต่อนโยบายแก้ปัญหาความเดือดร้อน เนื่องจากราคายางพาราตกต่ำ กรณีศึกษา : ตำบลเขาค้ออำเภอปลายพระยาจังหวัดกระบี่. กรุงเทพมหานคร. มหาวิยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
ศิรประภา สุขสำโรง. (2557). ความสัมพันธ์ของปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกประเทศที่มีผลต่อการส่งออกยางพาราชนิดยางแผ่นรมควันชั้น 3 ไปประเทศจีน. ปทุมธานี. มหาวิยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ศิริเรือง พัฒน์ช่วย (2557). การวิเคราะห์คุณภาพแผ่นยางพาราในโรงลมยางด้วยหลักการ
ประมวลผลภาพ. นครปฐม. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.
ศุภกร กันตาโพธิ์ (2557). โครงการออกแบบชุดเครื่องมือกรีดยางสำหรับผู้เริ่มต้น. กรุงเทพมหานคร.มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ศุภรทิพย์ นิลารักษ์. (2557). คุณภาพชีวิตของเกษตรกรชาวสวนยาง ภายในพื้นที่จังหวัดตราด.จันทบุรี. มหาวิทยาลัยบูรพา.
สมคิด ดำน้อย (2558). การวิจัยและการพัฒนาระบบกรีดที่เหมาะสมกับพันธุ์ยาง RRIT 251 ในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนบน. สุราษฎร์ธานี. ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกระบี่, ศูนย์วิจัยยางฉะเชิงเทรา การยางแห่งประเทศไทย และสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 7 จังหวัดสุราษฎร์ธานี
อริศรา ร่มเย็น. (2560). การพัฒนาการระบบปลูกพืชร่วมยางในภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคในการขับเคลื่อน. สงขลา. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
อิบรอเฮม ยีดำ. (2555). พืชเศรษฐกิจยางพารา. สงขลา. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
Cochran, W.G. (1977). Sampling Techniques. 3d ed. New York : John Wiley and Sons Inc.
Cronbach, L.J. (1951). Coefficint alpha and the internal structure of tests. Psychometrika, 16(3), 97-334.
Gordon, J.A., & Kast, C. (2012). Quality of Life on the Agricultural Treadmill.
Hair, J. F. et al. (2006). Multivariate data analysis. 6thed. New Jersey: Pearson Education International.
Obeidat, B. Y. (2013). The relationship between Innovation diffusion and human resource information system (HRIS). Business and Management, 5(1), 72-96.
Retrieved from https://www.researchgate.net/publication/264232913_Quality _of_life_on_the_agricultural_treadmill_Individual_and_community_determina nts_of_farm_family_well-being.
Riggs, J.N. and Scott, B.S. (2014). The Top 5 Rubber Producing Countries [Online]. A vailable: http://www.top5ofanything.com/index.php?h=7738a992
[2014, August 18].
Sarkawi, S.S., Dierkes, W.K. and Noordermeer, J.W.M. (2012). The effect of protein content in natural rubber on silica filled compounds as influenced by process- ing temperature. International Rubber Conference (IRC) 2012, Jeju, Korea, May 21-24, 2012, 153.
Lisa Mariam, V. and Pramod, K. (2013). Price Ris Management and Aaccess to Finance for Rubber Growers: The Case of Price Stabilisation Fund in Kerala. Indian Journal of Agricultural Economic. 68(1): 67-88.