แนวทางการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจสินค้าทางวัฒนธรรมขนมทองม้วนของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านยาง ตำบลบ้านยาง อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์

Main Article Content

อุทิศ ทาหอม
สุนันท์ เสนารัตน์

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้ศึกษาพัฒนาการสินค้าทางวัฒนธรรม และศึกษาศักยภาพองค์ความรู้ขนมทองม้วนพร้อมกับแนวทางการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจสินค้าทางวัฒนธรรมขนมทองม้วนของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านยาง ตำบลบ้านยาง อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ โดยเก็บข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง สัมภาษณ์เชิงลึก และสนทนากลุ่ม ผลการศึกษา พบว่า พัฒนาการสินค้าทางวัฒนธรรมขนม แบ่งออกเป็น 3 ยุค ได้แก่ 1. ยุคก่อตั้งกลุ่มวิสากิจชุมชน 2. ยุคสร้างมาตรฐานและเพิ่มมูลค่าสินค้า และ 3. ยุคสร้างเครือข่ายทางการตลาด ซึ่งทางกลุ่มมีศักยภาพองค์ความรู้ 3 ประการ ได้แก่ 1. ศักยภาพองค์ความรู้การบริหารจัดการกลุ่ม  2. ศักยภาพมาตรฐานการผลิต 3. ศักยภาพเครือข่ายทางการตลาด  ผลจากการดำเนินการวิจัยร่วมกับชุมชนจนได้เกิดแนวทางการเพิ่มมูลค่าสินค้า ได้แก่ 1. แนวทางการพัฒนาขยายการตลาด 2. แนวทางการพัฒนามาตรฐานขนมทองม้วนระดับเครื่องหมายฮาลาล 3. แนวทางการพัฒนาความรู้ของบุคลากรให้มีความพร้อมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์

Article Details

How to Cite
ทาหอม อ., & เสนารัตน์ ส. (2019). แนวทางการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจสินค้าทางวัฒนธรรมขนมทองม้วนของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านยาง ตำบลบ้านยาง อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารวิจัยและนวัตกรรมท้องถิ่น, 14(1), 7–25. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/RDIBRU/article/view/175938
บท
บทความวิจัย

References

กนกวรา พวงประยงค์. (2561). บทบาทของเศรษฐกิจสร้างสรรค์และพฤติกรรมเชิงสร้างสรรค์ในการพัฒนา
ยกระดับวิสาหกิจชุมชนไทย.วารสารพัฒนศาสตร์ วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ้งภากรณ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 1 (1), 220-252.
กระทรวงอุตสาหกรรม. (2554). แผ่นแม่บทการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย พ.ศ. 2555-2574. กรุงเทพฯ :
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม.
กัลยาณมิตร นรรัตน์พุทธิ. (2562). วัฒนธรรมคุณค่าสู่มูลค่า. วารสารวัฒนธรรม. 57 (4) ; 3-17
เกศรินทร์ เพ็ชรรัตน์ สุนิษา วิไลพัฒน์ และ จีราพร อัคคีสุวรรณ์. (2557). การใช้กากมะพร้าวเสริมในขนม
ทองม้วน. วารสารวิชาการและการวิจัย มทร.พระนคร ฉบับพิเศษ. การประชุมวิชาวิชาการ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. ครั้งที่ 5 ; 14-23.
จักร ติงศภัทิย์. (2549). การจัดการยุคใหม่ กลยุทธ์การบริหารผลการดำเนินงาน.กรุงเทพฯ : เอ๊กซเปอร์เน็ท
จำกัด.
จันทนา พงศ์สิทธิกาญจนา. (2558). Veridian E-Journal, Slipakorn University ฉบับภาษาไทย สาขา
มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ. 8 (2) ;2039-2053.
ณรงค์ชัย อัครเศรณี. (2553). กระตุกต่อมคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : สำนักงานบริหารและพัฒนา
องค์ความรู้ (องค์การมหาชน).
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา. (2546). การส่งเสริมผลิตภัณฑ์ OTOP เพื่อการส่งออก. วารสารปราสาทสังข์
ฉบับเศรษฐกิจวิเคราะห์. (กรกฎาคม) ; 10-20.

ธันยมัย เจียรกุล. (2557). ปัญหาและแนวทางการปรับตัวของ OTOP เพื่อพร้อมรับการเปิด AEC .
วารสารนักบริหาร. 34 (1) ; 177-191.
นิสวันต์ พิชญ์ดำรง .2553. ทุนวัฒนธรรม : ขุมทรัพย์ของเศรษฐกิจสร้างสรรค์.วารสารเศรษฐกิจและสังคม.
42 (4) ; 8-12.
บัวตะวัน มีเดีย. (2561). หมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์. วารสารของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. 60 (เดือน
กรกฏาคม – สิงหาคม) ; 7-16.
วรรณ วิจักขณ์. (2559). แนวโน้มอุตสาหกรรมอาหาร. วารสารอุตสาหกรรมสาร. 58 (เดือนมีนาคม -
เมษายน 2559) ; 6-7
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2560). ไลฟ์สไตล์คนเมืองและกระแสสุขภาพมาแรงดันแปรรูปเกษตรโต. กรุงเทพฯ :
ธนาคารกสิกรไทย.
เสรี พงศ์พิศ. (2551). แนวคิดแนวปฏิบัติยุทธศาสตร์พัฒนาท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : พลังปัญญา.
สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางขนาดย่อม. (2561 : 4). กรณีศึกษา การเพิ่มมูลค่าด้วยสินค้าเกษตร
แปรรูปในประเทศญี่ปุ่น. กิจกรรมจัดทำองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจงานพัฒนาองค์
ความรู้สำหรับ SME (Knowledge Center) ปีงบประมาณ 2561. สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาด
กลางขนาดย่อม.
อรรนพ เรืองกัลปวงศ์ สราวรรณ์ เรืองกัลปวงศ์ วรนาถ ศรีพงษ์ และปวีณา สปิลเลอร์. (2556). การพัฒนา
ความเข้มแข็งเครือข่ายเกษตรธรรมชาติชุมชนวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อำเภอบางละมุง
จังหวัดชลบุรี. วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.10 (2) ;
73-90.