การบริหารจัดการโบราณสถานในวัดเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

Main Article Content

พระมหามงคลกานต์ ฐิตธมฺโม

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้เพื่อให้เกิดความเข้าใจในการบริหารวัดของเจ้าอาวาสที่มีโบราณสถานในการบริหารจัดการโบราณสถานในวัดเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยเน้นความสำคัญของวัดที่มีโบราณสถานเพื่อสร้างความยั่งยืนในการบริหารจัดการและพัฒนาให้เกิดขึ้น


            ดังนั้นหน้าที่ของเจ้าอาวาสในการบริหารวัด จึงต้องการเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและมีการพัฒนาที่ยั่งยืนในรูปแบบของการอนุรักษ์ในเชิงวัฒนธรรมและอนุรักษ์โบราณสถานอันเป็นเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของสถานที่นั้น ๆ จึงมีความสำคัญเป็นอย่างมากในการที่จะเข้าใจ และให้การร่วมมือของเจ้าของถิ่นอันมีประชาชนและองค์กรท้องถิ่น โดยมีเจ้าอาวาสเป็นผู้นำและสร้างความเข้าใจให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของวัดให้เกิดขึ้นต่อไป

Article Details

How to Cite
ฐิตธมฺโม พ. (2018). การบริหารจัดการโบราณสถานในวัดเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. วารสารวิจัยและนวัตกรรมท้องถิ่น, 13(2), 71–79. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/RDIBRU/article/view/164085
บท
บทความวิจัย

References

1. กรมการศาสนา. (มปป.). คู่มือการบริหารและการจัดการวัดฉบับย่อ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การศาสนา.

2. กรมการศาสนา. (2540). คู่มือพระสังฆาธิการ ว่าด้วยเรื่องการคณะสงฆ์และการพระศาสนา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การศาสนา.

3.กรมการศาสนา. (2546). วัดพัฒนา 46, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การศาสนา.

4. กรมการศาสนา. (2542). คู่มือพระสังฆาธิการว่าด้วยพระราชบัญญัติ กฎ ระเบียบ และคำสั่งของคณะสงฆ์. กรุงเทพมหานคร : กองแผนงาน กรมการศาสนา.

5.กรมการศาสนา. (2538). คู่มือการบริหารศึกษาคณะสงฆ์. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์กรมศาสนา.

6. ประเวศ วะสี. (2539). พระสงฆ์กับการรู้เท่าทันสังคม ในหลักการบริหารจัดการวัดในยุคโลกาภิวัตน์. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ.

7. พระเทพปริยัติสุธี วรวิทย์ คงฺคปญฺโญ. (2545). การคณะสงฆ์และการศาสนา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.

8. พิสิฐ เจริญวงษ์. (2550). การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ. กรุงเทพมหานคร : ม.ป.ท.

9. พระศรีปริยัติโมลี (พระมหาสมชัย กุสลจิตฺโต). (2543). การเมืองมิใช่เรื่องของสงฆ์. กรุงเทพมหานคร : เรือนแก้วการพิมพ์.

10. พระวิสุทธิภัทรธาดา (ประสิทธิ์ พฺรหฺมรํสี). (มปป.). พระราชบัญญัติคณะสงฆ์และกฎมหาเถรสมาคม.

11.พระครูวิสุทธานันทคุณ (สุรศักดิ์ วิสุทฺธาจาโร). (2547). การบริหารจัดการวัดเพื่อความมั่นคงแห่งพระพุทธศาสนา. ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

12.พระมหาบุญพิเชษฐ์ จันทร์เมืองเส. (2553). การจัดการการท่องเที่ยวในพระอารามหลวงชั้นเอกในเกาะรัตนโกสินทร์. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการวางแผนและการ จัดการการท่องเที่ยวเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

13.พระครูใบฎีกาอภิชาติ ธมฺมสุทฺโธ (พรสุทธิชัยพงศ์). (2553). ประสิทธิภาพการบริหารงานของเจ้าอาวาสในจังหวัดนนทบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ, บัณฑิตวิทยาลัย ,มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

14. พระครูสิริอาภากร อำภา. (2540). บทบาทเจ้าอาวาสด้านการปกครองและด้านการเผยแผ่ศาสนธรรม: กรณีศึกษาเจ้าอาวาสในเขตอำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

15. พระมหาทะนงชัย บูรณพิสุทธิ์. (2545). บทบาทของวัดในเขตชุมชนเมืองในเขตบางรักกรุงเทพมหานคร, วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาพัฒนาชนบทศึกษา, มหาวิทยาลัยมหิดล.

16.ทวี ขจรกุล. (2547). บทบาทเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัดในเขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย. วิทยานิพนธ์คุรุศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม.