การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนจากการทอผ้าซิ่นตีนแดงด้วยเส้นด้ายประดิษฐ์ ของชุมชนบ้านคูบอน ตำบลคูเมือง อำเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์

Main Article Content

พิมพ์พิสุทธิ์ ศรีมณีสวัสดิ์
วรรณภา ประนาเส
ณัฐริกา ลุงไธสง
พรพิมล ตงทอง
สุพัตรา รักการศิลป์
ผกามาศ มูลวันดี

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุน ผลตอบ  แทน และวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนของการทอผ้าซิ่นตีนแดงด้วยเส้นด้ายประดิษฐ์ลายไข่มดแดงของชุมชนบ้านคูบอน ตำบลคูเมือง อำาเภอคูเมือง จังหวัดบุ รีรัมย์ ซึ่งเก็บรวบรวมข้อมูลจากการจากชุมชนบ้านคูบอน  จำานวน 31 คน เครื่องมือที่ ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม การสังเกต และการสนทนากลุ่ม ผลการวิจัยพบว่า 1) ต้นทุนจากการทอผ้าซิ่นตีนแดงด้วยเส้นด้ายประดิษฐ์ลายไข่มดแดงของ ชุมชนบ้านคูบอน พบว่า มีต้นทุน รวมจากการทอผ้าซิ่นตีนแดงด้วยเส้นด้ายประดิษฐ์ ลายไข่ มดแดงเฉลี่ย/ผืน จำนวน 198. 03 บาท ประกอบด้ วย วัตถุดิบ จำนวน 166. 97 บาท ค่าแรงงาน จำานวน 29.7 3 บาท และค่าใช้จ่ายในการผลิต จำานวน 1.3 3 บาท และเมื่อพิจารณาต้นทุนรวม/ปี พบว่า ชุมชนบ้านคูบอน มีต้นทุนรวมเฉลี่ย/ปี ทั้งหมด จำนวน 10,9 04.82 บาท ประกอบด้วย วัตถุดิบ จำนวน 8,012.83 บาท ค่าแรงงาน จำานวน 1,390.54 บาท ค่าใช้ จ่ายในการผลิตจำนวน 61.45 บาท และค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน จำานวน 1,440.00 บาท เมื่อพิจารณาต้นทุนรวมจากปริมาณการทอผ้าซิ่นตีนแดงลาย ไข่มดแดง จำานวน 100 ผืน โดยเฉลี่ย/ผืน/ปี พบว่า มีต้นทุนรวม/ผืน/ปี จำานวน 109.04 บาท ประกอบด้วย วัตถุดิบ จำานวน 80.13 บาท ค่าแรงงาน จำานวน 13.90 บาท ค่าใช้จ่ายในการผลิต จำานวน 0.61 บาท และค่า ใช้จ่ายในการดำาเนินงาน จำานวน 14.40 บาท 2) ผลตอบแทนจากการทอผ้าซิ่นตีนแดงด้วยเส้นด้ายประดิษฐ์ลาย ไข่มดแดงของชุนชนบ้านคูบอน มีผ้าซิ่นตีนแดงลายไข่มดแดงที่ทอได้ทั้งหมด จำานวน 1,488 ผืน/ปี มีรายได้จาก การขายผ้าซิ่นตีนแดงจากเส้นด้ายประดิษฐ์ลายไข่มดแดง/ผืน จำานวน 420.00 บาท และรายได้เฉลี่ยจากการ ขาย/ผืน/ปี จำานวน 20,160.00 บาท เมื่อพิจารณารายได้จากการขายจากปริมาณการทอผ้าซิ่นตีนแดงลายไข่มดแดง จำนวน 100 ผืน พบว่า มีรายได้จากการขายโดยเฉลี่ย/ผืน/ปี จำานวน 201.60 บาท 3) การวิเคราะห์ ต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า ชุมชนบ้านคูบอน ตำบลคูเมือง อำาเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ มีต้นทุนรวม/ปี จำนวน 338,049.17 บาท มีผลตอบแทน/ปี จำนวน 637,980.00 บาท คิดเป็นกำไรขั้นต้น จำนวน 344,570.84 บาท มีอัตรากำไรขั้นต้นเท่ากับ 54.01 มีค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน จำานวน 44,640.00 บาท คิดเป็นกำไรสุทธิ จำานวน 299,930.83 บาท และมีอัตรากำไรสุทธิ เท่ากับ 47.01

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

1. จตุพร พินิจนึก. (2559). การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตเส้นไหมกลุ่มผู้ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม บ้านโคก ตำาบลเนินยาง อำเภอคำาม่วงจังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารวิถีสังคมมนุษย์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์, 4(2),350-367.

2. ชนิดาภา มาตราช.(2559). การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนกลุ่มทอผ้าไหมมัดหมี่ ลายฟองน้ำหัวฝาย ตำบลปอแดง อำเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น. วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 3(2), 209-210.

3. ประทับใจ สิกขา. (2555). โครงการฐานข้อมูลผ้าทอพื้นเมืองอีสานใต้. (พิมพ์ครั้งที่ 1). อุบลราชธานี : ศิริธรรมออฟเซ็ท.

4. รัชนีพร ปัญโญวัฒน์. (2559). การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนทางการเงินของผู้ประกอบการ
ผลิตภัณฑ์ผ้าไหมมัดหมี่ อำาเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
http://jes.rtu.ac.th/rtunc2016/pdf/Oral%20Presentation (สืบค้นเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2560).

5. รศริน ไตรศุภโชค. (2553). แนวทางการพัฒนาวิธีการถ่ายทอดความรู้การทอผ้าซิ่นตีนจกของ
ชาวไท - ยวน ตำาบลคูบัว อำาเภอเมือง จังหวัดราชบุรี : กรณีศึกษาวิธีการสอนทอแบบดั้งเดิมจนถึงการพัฒนาการสอนในปัจจุบัน. วิทยานิพนธ์ รป.ม. (การปกครองท้องถิ่น), มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

6. วราภรณ์ ปาทุมา. (2555). การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตผ้าไหมยกดอกลำาพูน. วิทยานิพนธ์ วท.ม. (พัฒนาการเกษตร), สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

7. วีรนันท์ พาวดี. (2558). ต้นทุนและผลตอบแทนจากผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมืองลายภูเขาของกลุ่มเย็บผ้าบ้านสันหลวง อำาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ บช.ม. (การบัญชี), มหาวิทยาลัยเชียงใหม.