THE DEVELOPMENT OF TRAINING CURRICULUM FOR ENHANCING DESIRABLE CHARACTERISTIC IN SUFFICIENCY LIVING OF STUDENTS OF NADUAPITTAYAKOM SCHOOL UNDER THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 22
Main Article Content
Abstract
The purposes of this research were: 1) to develop training courses for enhancing the desirable characteristics, 2) to study the effectiveness of training courses for enhancing the desirable characteristics in sufficiency living according to the criteria of 80/80, 3) compare the training courses achievement for enhancing the desirable characteristics in the aspect of sufficiency living, 4) study practical skills after using training courses for enhancing the desirable characteristics in sufficiency living, and 5) study the satisfaction of the training courses for enhancing the desirable characteristics in sufficiency living. The target group includes Mathayomsuksa 4 students of Naduapittayakhom School under the Secondary Educational Service Area Office 22, Academic Year 2019, amount of 33 persons which were obtained by purposive sampling. The research instruments consisted of training courses. There was a consistency index at 1.00 and it was at the highest level 4.91. The knowledge test had a difficulty from 0.40 to 0.63. The classification powers were from 0.33 to 0.60 and the reliability was 0.80. The skill assessment for practicing had a consistency index at 1.00. The satisfaction questionnaire had a consistency index at 1.00. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation and T-test.
The result of the research indicated that
- 1. The training courses for enhancing the desirable characteristics in sufficiency living consists of 4 components which were 1) the objectives of the curriculum, 2) the contents of the curriculum, 3) the methods of teaching and learning activities, and 4) the evaluation.
- 2. The training courses for enhancing the desirable characteristics in sufficiency living had an efficiency of 88.75 / 89.17 which were higher than the set 80/80 threshold.
- 3. The achievement after training with the training courses for enhancing the desirable characteristics in sufficiency living was higher than before training with statistical significance at the level of .01
- 4. The practice skills after using training courses for enhancing the desirable characteristics in sufficiency living in overall and in each level were at the highest level.
- 5. The satisfaction with training courses for enhancing the desirable characteristics in sufficiency living was at the highest level.
Article Details
เนื่อหาและข้อมูลในบทความ เป็นความรับผิดชอบของผุ้แต่ง
บทความในวารสารเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
References
คุณาเพ็ง กิ่งมิ่งแฮ. (2552). การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนโรงเรียนบ้านหมากแข้ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 1. ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาชาวิชา
ยุทธศาสตร์การพัฒนา อุดรธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
จักรา วงศ์กาฬสินธุ์. (2556). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมโดยใช้หลักการเจริญสติปัฏฐาน 4 ตามแนวทางของหลวงพ่อเทียน จิตตสุโภ เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการจัดการอารมณ์ ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน สกลนครพัฒนาการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการ
สอน สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
จิราภรณ์ เกตุแก้ว. (2559). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างจิตสาธารณะสำหรับนักศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา.
ฆนัท ธาตุทอง. (2550). เทคนิคการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา. นครปฐม : เพชรเกษมการพิมพ์.
ชาญ สวัสดิ์สาลี. (2552). คู่มือนักฝึกอบรมมืออาชีพ เทคนิคการฝึกอบรมและการจัดสถานที่ประชุม/ฝึกอบรม. กรุงเทพฯ : สวัสดิการสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาข้าราชการพลเรือน.
ชุมศักดิ์ อินทร์รักษ์. (2545). การบริหารงานวิชาการ. ปัตตานี : ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.
ทิศนา แขมมณี. (2546). การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมจากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : เสริมสินพรีเพรสซิสเท็ม.
นิพนธ์ ยศดา. (2556). การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการบริหารจัดการการศึกษา มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
นนทวัฒน์ สุขผล. (2556). เทคนิคการฝึกอบรมอย่างมีประสิทธิผล. กรุงเทพฯ : เอกซ์เปอร์เน็ท.
บุญชม ศรีสะอาด. (2546). การพัฒนาหลักสูตรและการวิจัยเกี่ยวกับหลักสูตร. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
ปฎล นันทวงศ์และไพโรจน์ ด้วงวิเศษ. (2543). หลักสูตรและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สงขลา : สถาบัน ราชภัฏสงขลา.
พระอำนาจ อตฺถกาโม. (2554). การศึกษาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์บางกรวย อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขา
วิชาการบริหารจัดการคณะสงฆ์ กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พัทธนันท์ ปั้นแก้ว. (2557). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเรื่องการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์โดยการบรูณาการเทคโนโลยีในการเรียนการสอนสำรับครูผู้สอนกลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน สงขลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
พิสมัย ถีถะแก้ว. (2545). หลักสูตรและการจัดการประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.
พรสวรรค์ แย้มกวีตระกูล. (2549). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเรื่องการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ สำหรับครูโรงเรียนตั้งตรงจิตรพณิชยการ. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหา
บัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
ภาณุภัทร ลิ้มจำรูญ. (2551). การพัฒนาชุดเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา
กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วชิรดล คำศิริรักษ์. (2559). การพัฒนารูปแบบกิจกรรมเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยหลักสูตรและ
การสอน สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
วัฒนา ตรงเที่ยง. (2553). การพัฒนาหลักสูตรระดับชั้นเรียน เพื่อสร้างเสริมสุขภาพของนักเรียนชั้น ประถมศึกษา. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
นครปฐม : มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วารุณี อัศวโภคิน. (2554). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของบุคลากรสาย สนับสนุนวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎี
บัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาผู้ใหญ่ กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
วาโร เพ็งสวัสดิ์. (2551). วิธีวิทยาการวิจัย. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
วิชัย ประสิทธิ์วุฒิเวชช์. (2542). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นสานต่อที่ท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : เซ็นเตอร์ดิสคัฟเวอรี่.
สุกัญญา คุ้มกลาง. (2553). การดำเนินงานการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนโดยใช้กิจกรรม สหกรณ์โรงเรียนขามสะแกแสง จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์การศึกษามหา
บัณฑิต มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สุจิตรา ธนานันท์. (2552). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ : ทีพีเอ็มเพรส.
สุนีย์ ภู่พันธ์. (2546). แนวคิดพื้นฐานการสร้างและพัฒนาหลักสูตร. เชียงใหม่ : เดอะโนว์เลจเซ็นเตอร์.
สุมิตร คุณานุกร. (2520). หลักสูตรประถมศึกษา 2521 ทฤษฎีและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรดา ไชยสงคราม. (2555). กลยุทธ์การบริหารเพื่อพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนประถมศึกษาในโรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์
ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรศักดิ์ โจถาวร. (2556). แนวทางการส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านการอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1.
วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษา กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สุรางค์ โค้วตระกูล. (2553). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สิทธิพงษ์ ปานนาค. (2556). การพัฒนาแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการจัดการเรียนรู้พลศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สมชาย สังข์สี. (2550). หลักสูตรการฝึกอบรมการพัฒนามาตรฐานการศึกษาด้านผู้เรียน ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สมหวัง พิธิยานุวัฒน์. (2541). วิธีวิทยาการประเมินทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา,สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2548). เรียนรู้บูรณาการ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
อุษณีย์ โพธิสุข. (2543). การปฏิรูปการเรียนรูผู้เรียนสำคัญที่สุด. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ.
Kolb, David A. (1970). Organization psychology: a book of readings. 2nd Ed. New York : Prentice –Hall.
Taba, Hilda. (1962). Curriculum development theory and practice. New York : Brace & World.
Tyler, Ralph W. (1970). Basic principles of curriculum and instruction. Chicago : University of Chicago Press.