อิทธิพลของความรู้ความสามารถด้านนวัตกรรมที่มีต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ของนักบัญชีบริษัทในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
Main Article Content
Abstract
The purpose of this research was to test of the Influences of innovation knowledge on performance of accountants in the Northeast Province. The questionnaire were used as a tool for collecting data from 140 of business accountants in the Northeast Province. The statistics used for the analysis were mean, standard deviation and multiple regression analysis. The results of the study revealed that business accountants agreed with having innovative knowledge capability as a whole and in each of all these at a high level : development, creative thinking, implementation and learning. The business accountants agreed with having work efficiency as a whole and in each of all these at a high level : quality of work, timeliness, costs savings and satisfaction. And according to test the influences, the results showed as following : 1) The innovative knowledge capability in the aspect of creative thinking had positive Influences on work efficiency as a whole (β = 0.337). 2) The innovative knowledge capability in the aspect of learning had positive Influences on work efficiency as a whole (β = 0.465). The predictive power of all the variables was 53.80 percent (R2 = 0.538).
Article Details
เนื่อหาและข้อมูลในบทความ เป็นความรับผิดชอบของผุ้แต่ง
บทความในวารสารเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
References
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2550). การวิเคราะห์สถิติ : สถิติสำหรับบริหารและวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จุฑามาศ จันทร์เปล่ง. (2553). ผลกระทบของนวัตกรรมในการทำงานที่มีต่อประสิทธิภาพการทำงานของนัก
บัญชีบริษัทในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ บช.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม.
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
บุญใจ ศรีสถิตนรากูร. (2550). ระเบียบวิธีวิจัย : แนวปฏิบัติสู่ความสำเร็จ. กรุงเทพฯ: ยูแอนด์ไออินเตอร์
มีเดีย.
วีระวุฒิ วัจนะพุกกะ และอาทิตยา อรุณศรีโสภณ. “ชุมชนแห่งนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์”วารสารนัก
บริหาร. 4(4): 6-8 มิถุนายน 2552.
สมใจ ลักษณะ. (2549). การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน. กรุงเทพฯ: ศูนย์การพิมพ์ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสวนสุนันทา.
อุไรวรรณ เหล่าเจริญ. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างนวัตกรรมความเป็นเลิศในการทำงานกับผลการปฏิบัติงาน
ของข้าราชการกรมธนารักษ์. วารสารการบัญชีและการจัดการมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 9(4),
53-64.
สุภาพร แจ่มศรี. (2554). ผลกระทบของการเรียนรู้ทางการบัญชีอย่างต่อเนื่องที่มีต่อผลการปฏิบัติงานของ
ผู้ทำบัญชีในจังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ บช.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
อนุสรา ขจรนาม. (2560). ผลกระทบของความรู้ความสามารถด้านนวัตกรรมที่มีต่อประสิทธิภาพการทำงาน
ของผู้ทำบัญชีในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ บช.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม.
Cronbach. (1970). Essentials of Paychological Testing. 3th ed. New York : Harper and Row.
Nunnally, C. Jum. (1978). Psychometric theory. New York : McGraw-Hill.