คุณลักษณะองค์กรสมรรถนะสูง ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ของบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

Main Article Content

ชัยวัฒน์ เพ็งกรูด

บทคัดย่อ

           การศึกษาวิจัยนี้ศึกษาระดับคุณลักษณะขององค์กร พร้อมกับวิเคราะห์ถึงระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน และศึกษาคุณลักษณะองค์กรสมรรถนะสูง ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ จำนวน 200 คน แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ได้แก่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบแบบทีการทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว และการวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบพหุคูณ พบว่าบุคลากรมีระดับความคิดเห็นต่อคุณลักษณะองค์กรสมรรถนะสูงโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก  ขณะที่ระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากเช่นกัน  และผลการทดสอบความสัมพันธ์ของสัมประสิทธิ์การถดถอยกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน พบว่ามีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันระดับต่ำถึงระดับปานกลางและคุณลักษณะองค์กรสมรรถนะสูงด้านการมุ่งเน้นการทำงานร่วมกันมีความสัมพันธ์เชิงบวกมากที่สุด ระดับปานกลาง (r = 0.401)กับประสิทธิภาพปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุน  มหาวิทยาลัยราชภับุรีรัมย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เอกสารอ้างอิง
กองบริหารงานบุคคล มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. (2562). รายงานผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2562. บุรีรัมย์: สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
กิตติทัช เขียวฉะอ้อน. (2560). การทำงานเป็นทีมสู่การเพิ่มประสิทธิผลในการทำงาน. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 11(1): 355-370.
ณรงค์ สิงห์แหลม. (2560). ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานผ่านระบบสารสนเทศของบุคลากร กรมสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ทหารอากาศ. วิทยานิพนธ์ รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์). มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
ดุจเดือน ปัญโยวัฒน์ และภัทริยา พรหมราษฎร์. (2562). การศึกษาเรื่องกลยุทธ์การฝึกอบรมที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการทํางานของพนักงานระดับปฏิบัติการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด, 13(3): 55-67.
ดุษณีย์ ยศทอง. (2561). แนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการสู่องค์กรพยาบาลสมรรถนะสูง : กรณีศึกษาโรงพยาบาลศิริราช. ดุษฎีนิพนธ์ ปร.ด. (การจัดการ). บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยสยาม.
ธันยนันท์ สมบูรณ์รัตนโชค. (2560). แนวทางการบริหารจัดการองค์กรธุรกิจสมัยใหม่ โดยใช้หลักของการให้อำนาจและการมีส่วนร่วมของสมาชิกในองค์กร. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี, 15(3): 94-103.
ธารารัตน์ พุ่มจันทร์. (2562). การพัฒนารูปแบบการปฏิบัติงานเพื่อเป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูง. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยปทุมธานี, 11(1): 11-18.
นิ่มนวล ทองแสน และนพวรรณ พจน์พิศุทธิพงศ์ (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานกลุ่มธุรกิจผลิตเครื่องสำอาง ในเขตจังหวัดปทุมธานี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิรน์เอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 6(2): 121-132.
นิสดาร์ก เวชยานนท์. (2554). มิติใหม่ในการบริหารทุนมนุษย์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). สมุทรปราการ: ดี.เค.ปริ้นติ้งเวิลด์.
พเยาว์ อินทอง. (2560). การพัฒนาหน่วยงานภาครัฐสู่องค์การสมรรถนะสูง กรณีศึกษากรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน. สืบค้นข้อมูลเมื่อ 18 พฤษภาคม 2564, จาก: http://www3.ru.ac.th/mpa -abstract/index.php/abstractData/viewIndex/65
พรทิพย์ ชุมเสน. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์. วิทยานิพนธ์ บธ.ม. (บริหารธุรกิจ).มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พีรญา ชื่นวงศ์. (2560). ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน: กรณีศึกษา ธุรกิจการขนส่งในจังหวัดเชียงราย. วารสารเศรษฐศาสตร์และกลยุทธ์การจัดการ, 4(2): 92-100.
วรจิตร หนองแก. (2540). ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการปฏิบัติงานสาธารณสุขมูลฐานตามบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในจังหวัดขอนแกน. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (สังคมวิทยาการพัฒนา). บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยขอนแกน.
วิภาวดี อาสานอก. (2562). การศึกษาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของนักวิเคราะห์นโยบายและแผน องค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์). มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.
วิไลวรรณ อิศรเดช และพระมหาประกาศิต ฐิติปสิทธิกร. (2563). การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรสายปฏิบัติการวิชาชีพและบริหารทั่วไป มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(4): 413-414.
วุฒิภัทร สุขช่วย. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงานกับความสำเร็จในการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ (รายงานผลการวิจัย).
คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน.
สกุลตรา กฤชเทียมเมฆ. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของฝ่ายผลิต บริษัท พีแซท คัสสัน ประเทศไทย จำกัด. วิทยานิพนธ์ บธ.ม. (การจัดการวิศวกรรมธุรกิจ). คณะบริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
สมพิศ สุขแสน. (2556). เทคนิคการทำงานให้มีประสิทธิภาพ. สืบค้นข้อมูลเมื่อ 20 กรกฎาคม 2563, จาก: https://bongkotsakorn.wordpress.com/เทคนิคการทำงานให้ประสบความสำเร็จ
สิทธิเดช นาคะเกตุ. (2559). ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกสิกรไทย.วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษาและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, 6(2): 100-101.
สิริวดี ชูเชิด. (2556). การพัฒนาประสิทธิภาพการทำงาน. สืบค้นข้อมูลเมื่อ 25 กรกฏาคม 2563, จาก: http://www.thailandindustry.com/onlinemag/view2.php?id=771
สุรพงษ ฉันทพัฒนพงศ. (2559). ปจจัยที่สงผลตอประสิทธิภาพในการทํางานของพนักงานสายเทคโนโลยี
ของธนาคารแหงหนึ่ง. วิทยานิพนธ์ บธ.ม. (บริหารธุรกิจ). บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
อ้อมขวัญ กฤษณะกาฬ และศรีสุนันท์ ประเสริฐสังข์. (2562). ระบบการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพสูงที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์, 6(2): 268-285.
อัครเดช ไม้จันทร์ และนุจรีย์ แซ่จิว. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานกลุ่มอุตสาหกรรมติดตั้งเครื่องจักรสายการผลิตในจังหวัดสงขลา. วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 5(1): 96-121.
Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis.(3rd Ed). New York: Harper and Row.