แนวทางการบริหารจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนสมุนไพรบ้านบัว ตำบลบ้านบัว อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์

Main Article Content

ฤทัยภัทร ให้ศิริกุล

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสถานการณ์ปัญหากลุ่มวิสาหกิจชุมชน และศึกษาองค์ความรู้กลุ่มวิสาหกิจชุมชน พร้อมทั้งค้นหาแนวทางการบริหารจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนสมุนไพร บ้านบัว ตำบลบ้านบัว อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ โดยเก็บข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง สัมภาษณ์เจาะลึก และสนทนากลุ่ม และศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษา พบว่า ปัจจุบันกลุ่มวิสาหกิจชุมชนสมุนไพรบ้านบัวเผชิญกับปัญหา 3 ประการได้แก่ 1. ปัญหาด้านการตลาด       2. ปัญหาด้านการบริหารจัดการกลุ่ม  3. ปัญหาการประชาสัมพันธ์ ซึ่งกลุ่มมีองค์ความรู้ในพัฒนาต่อยอดและการบริหารจัดการกลุ่ม 3 ด้าน 1. องค์ความรู้จากการศึกษาดูงาน  2. องค์ความรู้จากการฝึกอบรม 3. องค์ความรู้การบริหารจัดการกลุ่ม ทั้งหมดล้วนเป็นศักยภาพที่สำคัญในพัฒนากลุ่มประสบความสำเร็จได้ ผลจากการวิจัยได้ค้นพบแนวทางการบริหารจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนสมุนไพรบ้านบัว 3 ประการ คือ 1. การมีส่วนร่วมการบริหารจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน 2. การเพิ่มช่องทางการตลาด 3. ทางการพัฒนาสินค้าและผลิตภัณฑ์ เพื่อนำไปสู่การสร้างผลลัพธ์การบริหารจัดการกลุ่มให้เกิดสัมพันธภาพที่ดีทั้งสมาชิกและลูกค้าในอนาคต

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กนกวรา พวงประยงค์. (2561). บทบาทของเศรษฐกิจสร้างสรรค์และพฤติกรรมเชิงสร้างสรรค์ในการพัฒนายกระดับวิสาหกิจ
ชุมชนไทย. วารสารพัฒนศาสตร์. 1 (1); 220-252.
กระทรวงสาธารณสุข. (2560). แผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพฯ :
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข.
กัลยาณมิตร นรรัตนพุทธิ. (2562) วัฒนธรรมคุณค่าสู่มูลค่า. วารสารวัฒนธรรม. 57(4) ;3-10.
จตุพร สังขวรรณ. (2557). ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ชไมพร รัตนเจริญชัย กรวิกา ไชยวงศ์ ณิชพันธ์ ปิตินิยมโรจน์ วริยา ยอดปั๋น และภาพิมล บัวใจ. (2562). การยกระดับ
ผลิตภัณฑ์พืชสมุนไพรพูลคาวสู่สินค้า OTOP. วารสารวิชาการรับใช้สังคม มทร.ล้านนา. 3 (1) ;19-29.
ณัฐนันท์ วิริยะวิทย์. (2559). การพัฒนาบรรจุภัณฑ์และสื่อประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางสมุนไพร กรณีศึกษา :
วิสาหกิจชุมชนปาริชาต เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร. วารสารสมาคมนักวิจัย. 21 (1) ; 143-153.
ณัฐภัณฑ์ พงษ์ณะเรศ นิภาพร กลิ่นระรื่น พิทักษ์ ศิริวงศ์. (2560). การสร้างมูลค่าเพิ่มโดยการประยุกต์ใช้นวัตกรรมและช่อง
ทางการจัดจำหน่ายของผู้ประกอบการ ผลิตภัณฑ์แปรรูป สมุนไพรสุมาลี ตำบลหัวแรต อำเภอหนองบุญมาก จังหวัด
นครราชสีมา. การประชุมวิชาการเสนองานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
2560.
ณรงค์ อนันต์เลิศสกุล และจิรศักดิ์ จิยะนันท์. (2561). แนวทางการบริหารจัดการองค์กรเพื่อเพิ่มศักยภาพในการดำเนินงาน
วิสาหกิจชุมชนที่ผลิตสินค้าโอทอป กรณีศึกษา ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหารในพื้นที่ภาคใต้. วารสารปัญญา
ภิวัฒน์. 10 (2) ; 128-135.
ถนมศักดิ์ จิรายุสวัสดิ์. (2554). กลยุทธ์นักบริหาร สู่ความเป็นผู้นำอย่างเหนือชั้น. กรุงเทพฯ : ปราชญ์.
ธัญญ์รวี ธรศิริปุณโรจน์ กฤษฏา ตันเปาว์ และ กัญญามน กาญจนาทวีกุล. (2562). กลยุทธ์การตลาดสู่ความสำเร็จของการ
ประกอบธุรกิจผลิตภัณฑ์สปาผ่านช่องทางดิจิทัลในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารสมาคมนักวิจัย. 24
(1) ; 72-84.
นันทิยา หุตานุวัตร และ ณรงค์ หุตานุวัตร. (2549). การพัฒนาองค์กรชุมชน. กรุงเทพฯ : กรมส่งเสริมปกครองส่วนท้องถิ่น.
พรพิมล สัมพัทธ์พงศ์. (2553). พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริโภคและส่วนประสมทางการตลาดของสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่ง
ผลิตภัณฑ์ระดับ 5 ดาวในจังหวัดนนทบุรี.ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากวิทยาลัยราชพฤกษ์.
ภัสรา ชวประดิษฐ์. (2558). สถานการณ์การผลิตและการตลาดพืชสมุนไพร. กรุงเทพฯ : สำนักงานส่งเสริมและจัดการสินค้า
เกษตร.
ภาณิน เพียรโรจน์. (2562). เปลี่ยนคนธรรมดาให้มีหัวธุรกิจใน 3 ชั่วโมง. กรุงเทพฯ : บิงโก.
วีรวุธ มาฆะศิรานนท์. (2556). วิธีจัดทำแผนธุรกิจ. กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอร์เน็ท.
ศุภนิมิต วีรสุ. (2557). กลยุทธ์ ยุทธวิธีผู้นำแบบซุนวู. พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ : อรินทร์ บุ๊ค เซ็นเตอร์.
สุภัทรินทร์ รอดแป้น วรวีร์ วีระปรศุ และ เกตุวดี สมบูรณ์ทวี. (2560). รูปแบบกลยุทธ์ทางการตลาดของธุรกิจผลิตภัณฑ์
เครื่องสำอางสมุนไพรยี่ห้อ เดอลีฟ ทานาคา. นเรศวรวิจัย ครั้งที่ 13 วิจัยและนวัตกรรมขับเคลื่อนเศรษฐกิจและ
สังคม.
สุวัฒน์ ศิรินิรันดร์ และ ภาวนา สายชู. (2553). นโยบายองค์กรที่มาและวิธีนำสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : ออฟเซ็ท.
อัญชลี ภู่ทอง อุรสา บัวตะมะ และกุลกัญญา ณ ป้อมเพ็ชร์. (2558). กลยุทธ์การตลาด สภาพการแข่งขันของตลาด ปัญหาและ
แนวทางการปรับตัวของผลิตภัณฑ์สมุนไพรเครื่องสำอางในโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ เขตพื้นที่ภาคกลาง.
วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม. 14 (3) ; 16-23.
อุทิศ ทาหอม สำราญ ธุระตา คเนศ วงษาและชุลีพร บุ้งทอง. (2561). รูปแบบการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์อาหารพื้นถิ่น "ตำ
เปียงทรงเครื่อง" เพื่อสร้างความเข้มแข็งของ เศรษฐกิจชุมชนบ้านเสม็ด ตำบลหนองเต็ง อำเภอกระสัง จังหวัด
บุรีรัมย์. ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
อุทิศ ทาหอม และ สุนันท์ เสนารัตน์. (2562). แนวทางการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจสินค้าทางวัฒนธรรมขนมทองม้วนของกลุ่ม
วิสาหกิจชุมชนบ้านยาง ตำบลบ้านยาง อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏ
บุรีรัมย์. 14 (1) ; 7-25.