กระบวนการพัฒนานักศึกษาภายใต้ภาวะปกติใหม่ (New Normal) สาขาวิชาการพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ศึกษากระบวนการพัฒนานักศึกษาภายใต้ภาวะปกติใหม่ (New Normal) สาขาวิชาการพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ เก็บข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง สัมภาษณ์เชิงลึก และสนทนากลุ่ม พบว่า กระบวนการพัฒนานักศึกษาภายใต้ภาวะปกติใหม่ (New Normal) ได้แก่ 1) ติดตามข้อมูลข่าวสาร ด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม 2) ประเมินความเคลื่อนไหวต่าง ๆ ของสังคมไทยและสังคมโลก 3) มีทักษะการจัดสวัสดิการชุมชน 4) มีเทคนิคการค้นหาและความต้องการของชุมชน 5) มีทักษะในการวิเคราะห์สถานการณ์ให้สอดคล้องทั้งปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก 6) เป็นบุคคลที่สนใจใฝ่รู้ทบทวนความรู้เดิม เพิ่มเติมความรู้ใหม่ 7) ทักษะคำพูดที่กระตุ้นให้คนฟังเกิดความเชื่อมั่นต่อตนเอง 8) มีความสนใจและชื่นชอบทำงานร่วมกับชุมชน 9) มีทักษะและบุคลิกความเป็นผู้นำ ทักษะทั้ง 9 ด้าน ตอบโจทย์ความคาดหวังของตลาดแรงงานและการพัฒนาบัณฑิตของกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ตลอดจนสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศภายใต้ภาวะปกติใหม่อีกด้วย
Article Details
เนื่อหาและข้อมูลในบทความ เป็นความรับผิดชอบของผุ้แต่ง
บทความในวารสารเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิจัยและนวัตกรรมท้องถิ่น
References
ท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์.
ชัยเสฏฐ์ พรหมศรี. (2549). ภาวะผู้นำองค์กรยุคใหม่. กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอร์เน็ท.
ณัฐยา สินตระการผล. (2553). การสร้างนวัตกรรมให้เป็น Core Competency. กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอร์เน็ท.
ณิชา พิทยาพงศกร. (2563). New Normal ของการศึกษาไทยคืออะไร เมื่อการเรียนทางไกลไม่ใช่คำตอบ
สืบค้นเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม จาก https://gg.gg/j9uhv.
ธนิต โสรัตน์. (2563). วิถีใหม่ต้องปรับตัว! นายจ้างส่งสัญญาณปริญญาตรีล้าสมัยเสี่ยงตกงานเพิ่ม
สืบค้นเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม จาก https://gg.gg/j73wr.
ธเนศ ศรีวิชัยลำพันธ์. (2558). การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน. เชียงใหม่ : คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ปรเมธี วิมลศิริ. (2560). ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง สร้างสังคมเป็นธรรมและเข้มแข็ง. วารสารเศรษฐกิจและสังคม. 54 (3) ; 2-8.
พร้อมบุญ พานิชภักดิ์. (2550). พัฒนาในงานพัฒนา. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
พิจิตรา ทีสุกะ. (2556). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน โดยใช้วิจัยเป็นฐานวิชาชีพพัฒนาหลักสูตร
สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู. วิทยานิพนธ์หลักสูตรดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2558). เสริมสร้างทักษะการคิดด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2557). หลักและเทคนิคการสอนระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
_______. (2558). การคิดแห่งศตวรรษที่ 21 : ต้องก้าวให้พ้นกับดักของตะวันตก. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภัทรพร เล้าวงค์ รัฐสุชน อินทราวุธ ณภัทรพงศ์ วชิรวงศ์บุรี และวรวิช ลิ้มมณีวิจิตร. (2560). ศักยภาพคนไทยเพื่ออนาคต
ประเทศไทย. วารสารเศรษฐกิจและสังคม. 54 (2) ; 21-27.
ยศ บริสุทธิ์ (2558). การศึกษาชุมชน : แนวคิดฐานการวิจัยและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์. ขอนแก่น :
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วิธไท สันติประภพ. (2562). การเตรียมพร้อม "คนไทย" สำหรับโลกยุคใหม่. วารสารเศรษฐกิจและสังคม. 56 (2) ; 5-21
วีรวุธ มาฆะศิรานนท์. (2556). วิธีจัดทำแผนธุรกิจ. กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอร์เน็ท.
สำนักงานนโยบายและแผนการอุดมศึกษา. (2561). แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี พ.ศ. 2561-2580. กรุงเทพฯ :
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560 ). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 12. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.
สำนักงานที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ. (2560). ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579). กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ.
สมชัย จิตสุชน. (2560). ภาษีสร้างสวัสดิการยกระดับการศึกษาเพื่อความเท่าเทียมของคนไทย. วารสารพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคม. 54 (3) ; 9-15.
สุวิทย์ เมษินทรีย์. (2563). โลกเปลี่ยน คนปรับ หลุดกับดัก ขยับสู่ความยั่งยืน. กรุงเทพฯ : กระทรวงการ
อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.
สุวิมล ติรกานันท์. (2550). การประเมินโครงการ : แนวทางสู่การปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อักษร. (2563). การเรียนรู้ใหม่ ในวิถี New Normal. สืบค้นเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม จาก
https://www.aksorn.com/new-normal-1.
อุทิศ ทาหอม สำราญ ธุระตา และคเนศ วงษา. (2561). เกษตรเปลี่ยนทิศ ชีวิตเปลี่ยนแนว : กรณีชุมชนบ้าน
คูขาด อำเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์. อุบลราชธานี : ศิริธรรม ออฟเซ็ท.
อุทิศ ทาหอม และ สุจิตรา ยางนอก. (2562). แนวทางการพัฒนาเพิ่มทักษะองค์ความรู้สู่การเป็นนักพัฒนา
อัจฉริยะ (Smart Developer) ของนักศึกษาสาขาวิชาการพัฒนาสังคม คณะมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
14 (2) ; 85-98.