เครื่องมือวัดผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงเนื้อหา (Content analysis) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเครื่องมือที่ใช้วัดผลการดำเนินงานขององค์กร ซึ่งเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ตำรา บทความวิชาการ และบทความวิจัยต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อทำการสังเคราะห์เครื่องมือที่ใช้วัดผลการดำเนินงานขององค์กร จากผลการศึกษาพบว่า ผลการดำเนินงานขององค์กรคือสิ่งที่เกิดจากทักษะ ความรู้ และความสามารถของบุคลากรที่อยู่ภายในองค์กรที่ได้มาจากการบริหารจัดการส่งผลให้เกิดการสร้างมูลค่าสูงสุดให้แก่องค์กรและผู้ถือหุ้น โดยที่องค์กรจะต้องคำนึงถึงผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียอื่น ๆ
เป็นสำคัญหรือเป็นการสร้างมูลค่าของกิจการที่ได้จากการดำเนินงานขององค์กรที่เป็นเครื่องวัดความเจริญเติบโตขององค์กร ซึ่งสามารถวัดได้จาก Tobin’s Q อัตรากำไรต่อหุ้น (EPS) อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (ROA) และอัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ROE)
Article Details
เนื่อหาและข้อมูลในบทความ เป็นความรับผิดชอบของผุ้แต่ง
บทความในวารสารเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิจัยและนวัตกรรมท้องถิ่น
References
กันตยา เพิ่มผล. (2547). การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน. กรุงเทพฯ : เทียนวัฒนา.
ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. 2547. ทฤษฎีองค์การสมัยใหม่. กรุงเทพฯ : แซทโฟร์ พริ้นติ้ง.
ธีรพร ทองขะโชค. (2556). โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงการกำกับดูแลกิจการ การมี
ส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย และความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ :
การทบทวนวรรณกรรม. วารสารนักบริหาร, 33(2), หน้า 80 - 88.
ณธภร กัญนราพงษ์ และคณะ. (2559). ปัจจัยการกำกับดูแลกิจการของบริษัทที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงาน : กรณีศึกษา
กลุ่มอุตสาหกรรมธุรกิจการเงินที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ
สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช-
กุมารี. ประจำเดือนมกราคม - มิถุนายน 2559, 5(1), หน้า 34 - 42.
มนสิชา อินทจักร. (2555). ผลกระทบของคุณลักษณะขององค์กรที่มีต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจนำเที่ยวในประเทศ
ไทย. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. (การจัดการการท่องเที่ยวและการโรงแรม). มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ศศิวิมล มีอำพล. (2552). การบัญชีเพื่อการจัดการ. (พิมพ์ครั้งที่ 19). กรุงเทพฯ : อินโฟไมนิ่ง.
ศิลป์ชัย ปวีณพงษ์พัฒน์. (2544). ผลกระทบของความสัมพันธ์ระหว่างอุตสาหกรรมที่มีต่อผลการดำเนินงานของ
อุตสาหกรรมและการส่งผ่านข้อมูล. ปริญญานิพนธ์ บัญชีดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี. กรุงเทพฯ :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2550). ทฤษฎีการประเมิน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อัครเดช ไม้จันทร์. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานกลุ่มอุตสาหกรรมติดตั้งเครื่องจักร
สายการผลิตในจังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์ บธ.ม. (บริหารธุรกิจ). สงขาล : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
A. Madhavilatha. (2016). A Study on Capital Structure and Profitability of Cement Companies in
Telangana. Journal of Commerce & Management Thought, 7(4), pp. 795 - 817.
Amitava, M. & Santanu, K. G. (2012). Intellectual Capital and Financial Performance of Indian banks.
Journal of Intellectual Capital, 13(4), pp. 515 - 530.
Anand, S. (2008). Essentials of corporate governance. New Jersey : John Wiley & Sons.
Argyris, C. (2007). Personnal and Organization. New York : Harper & Publishers, pp. 40.
Bureekul, T. (1998). Major Factor Affecting the Implementation of Industrial Hazardous Waste Policy
in Central Thailand. Doctoral Dissertation. National Institute of Development Administration.
Bangkok.
Clarke, T. (2004). Theories of Corporate Governance : The Philosophical Foundations of Corporate
Governance. New York : Routledge.
Cristina, M. M. (2014). Intellectual Capital Performance in the Case of Romanian Public Companies.
Journal of Intellectual Capital, 15(3), pp. 392 - 410.
Dale, E. (2009). The Service Organization : Climate is Crucial. Organizational Dynamics, 9(2), pp. 11 - 12.
Elena, S. & Angel, B. (2014). Value Creation through Intellectual Capital in Developed European
markets. Journal of Economic Studies, 42(2), pp. 272 - 291.
Fama, E. F. & Jensen, M. C. (1983). Separation of Ownership and Control. J. Law Econ, 23(2), pp. 301 -
325.
Harsh, P. & Kamini, T. (2015). Intellectual Capital, Financial Performance and Market Valuation :
A Study on IT and Pharmaceutical Companies in India. The IUP Journal of Knowledge
Management, 13(2), pp. 7 - 25.
Hong, P. T., David, P. & Phil, H. (2007). Intellectual capital and financial returns of companies. Journal
of Intellectual Capital, 8(1) pp. 76-95.
Hus, Chin-Chun & Arun, P.. (2006). Internationalization and Performance : The Moderating Effects of
Organizational Learning. The Internationalization Journal of Management Science, 36, pp. 188 -
205.
Jensen, M. C. & Meckling, W. H. (1976). Theory of the Firm : Managerial Behavior, Agency Costs and
Ownership Structure. Journal of Financial Economics, 3(4), pp. 305 - 360.
Keng-Sheng, T. (2012). How Accumulation of Intellectual Capital of IC Design Firms Listed in Taiwan
Impacts Organization Performances : Organizational Learning Capability as the Mediator.
The Journal of Global Business Management, 8(1), pp. 60 - 73.
Low, C. & Cowton, C. (2004). Beyond Stakeholder Engagement : the Challenges of Stakeholder
Participation in Corporate Governance. International Journal of Business Governance and
Ethics, 1(1), pp. 45 - 55.
Mahdi, S.; Gholamreza, E. & Parisa, J. (2014). The Relationship between Intellectual Capital with
Economic Value Added and Financial Performance. Iranian Journal of Management Studies
(IJMS), 7(2), pp. 245 - 269.
Mahmoud, B., Homa, M., Maliheh, K. & Mahboubeh, R. (2014). Study of the Effect of Intellectual Capital
Components and Firm Size. Kuwait Chapter of Arabian Journal of Business and Management
Review, 3(11), pp. 212 - 220.
Miller, D. and Friesen, P. H. (1982). Innovation in Conservative and Entrepreneurial Firm : Two Model
of Strategic Momentum. Strategic Management Journal, 3, pp. 1 - 25.
Nasif, O., Sinan, C. & Murad, K. (2017). Intellectual Capital and Financial Performance : A study of the
Turkish Banking Sector. Borsa Istanbul Review, 17(3), pp. 190 - 198.
Peter, C. (2015). An Empirical Investigation of the Impact of Management Accounting on Structural
Capital and Business Performance. Journal of Intellectual Capital, 16(3), pp. 566 - 586.
Rezvan, H., Mehrdad, G. & Mohammad, A. (2016). Intellectual, Human and Structural Capital Effects on
Firm Performance as Measured by Tobin's Q. Knowledge and Process Management, 23(4),
pp. 259 - 273.
Sirinuch, N. (2015). The Relationship Between Intellectual Capital, Firms’ Market Value and Financial
Performance Empirical Evidence from the ASEAN. Journal of Intellectual Capital, 16(3),
pp. 587 - 618.
Sriranga, V. & Vijay, K. G. (2013). Intellectual capital and performance of Pharmaceutical Firms in India.
Journal of Intellectual Capital, 15(1), pp. 83 - 99.
Sugeng, S., Tri Widyastuti, M. Noor, S. & Irma, S. (2017). Intellectual Capital and Corporate Governance
in Financial Performance Indonesia Islamic Banking. International Journal of Economics and
Financial Issues, 7(4), pp. 96 - 103.