ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์
Main Article Content
บทคัดย่อ
The purpose of this research were 1) to study the transformational leadership of school administrators under Buriram Secondary Educational Service Area Office, 2) to investigate the student caring and supporting system operation in schools under Buriram Secondary Educational Service Area Office, and 3) to find the relationship between transformational leadership of school administrators and operation student caring and supporting system in schools under Buriram Secondary Educational Service Area Office. The samples were 346 school administrators and teachers, selected by using the table of Krejcie and Morgan, stratified random sampling, and simple random sampling. The research instrument was a 5-point rating scale questionnaire. The transformational leadership of school administrators questionnaire had a reliability of .944 and the student caring and supporting system operation questionnaire has a reliability of .950. The statistics used for analyzing the collected data were percentage, mean, standard deviation, and the hypothesis was tested by using Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient. The results of this study were as follows:
- The transformational leadership of school administrators under Buriram Secondary Educational Service Area Office both as a whole and each aspect was at a high level.
- The student caring and supporting system operation in schools under Buriram Secondary Educational Service Area Office both as a whole and each aspect was at a high level.
- The relationship between transformational leadership of school administrators and student caring and supporting system operation in schools under Buriram Secondary Educational Service Area Office was positive at a quite high level (rxy = .776) with statistically significant level of .01.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื่อหาและข้อมูลในบทความ เป็นความรับผิดชอบของผุ้แต่ง
บทความในวารสารเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิจัยและนวัตกรรมท้องถิ่น
References
จรุงจิต สมบัติวงศ์. (2561). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา.
Journal of Roi Kaensarn Academi. 3(2), 17-32.
ธนากร จันทพันธุ์. (2566). การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา.
วารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์.4(1),: 77 - 87.
นครินทร์ นิ่มมา. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ของผู้บริหารสถานศึกษากับการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23. สิกขา วารสารศึกษาศาสตร์. 8(2), 181-192.
นันธิดา จันทร์ศิริ. (2560). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงในการบริหาร
การเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมภายในองค์กร.
สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์. 17(1),79-98.
นุช สัทธาฉัตรมงคล. (2559). ผู้นำการเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัฒน์สู่การพัฒนา
อย่างยั่งยืน. วารสารธุรกิจปริทัศน์. 8(1),167-182.
เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2560). ภาวะผู้นำและผู้นำเชิงกลยุทธ์ (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ลกรุ๊ป.
บุษกร คำโฮม. (2562). บทบาทของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงในการส่งเสริม
นวัตกรรมองค์กร. วารสารบัณฑิตศึกษา. 16(75), 1-6.
ปกิตน์ สันตินิยม. (2563). ภาวะผู้นำของผู้บริหารองค์กรภายใต้ยุค
การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี. วารสารวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐ
ประศาสนศาสตร์. 2(2), 10-19.
ปนัดดา ฝ่ายสูน. (2565). การดำเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตนักเรียนของสถานศึกษาในจังหวัดสระแก้ว
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7.
วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม. 5(16), 56-68.
พรชัย เจดามาน สัญญา เคณาภูมิ และวัชระ คงแสนคํา. (2565). ผู้นํากับภาวะ
ผู้นําการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ของการบริหารจัดการองค์กร
อย่างยั่งยืน (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สูตรไพศาลบิวเดอร์.
วันทนา เนาว์วัน. (2563). ภาวะผู้นำและการทำงานเป็นทีม. พระนครศรีอยุธยา:
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
สัมมา รธนิธย์. (2556). ภาวะผู้นำของผู้บริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์. (2566). แผนพัฒนาการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี. บุรีรัมย์: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
บุรีรัมย์.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2566). คู่มือการคัดเลือก
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาเพื่อรับรางวัลระบบการดูแล
ช่วยเหลือนักเรียน ประจำปี 2566. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สิน งามประโคน. (2564). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
ในยุค Thailand 4.0. วารสารมหาจุฬาวิชาการ. 8(3), 308-319.
สุพิศ ศรีบัว. (2564). การบริหารสถานศึกษากับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง.
วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์. 6(3), 783-798.
แสงดาว คณานับ. (2566). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัลของผู้บริหาร
สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี.
วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์. 8(2), 1035-1048.
Gibson, J. L., Ivancevich, J. M. & Donnelly, J. H. (2000). Organizations:
Behavior Structure Process. Boston: McGraw-Hill. Hoy, W. K., & Miskel, C.G. (2008). Education Administration: Theory Research and Practice (8th ed.). New York: MaGraw-Hill.
Yukl, G. A. (2013). Leadership in Organization. Essex: Pearson Education
Limited.