การศึกษาแบบบูรณาการเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน กรณีศึกษาตำบลสี่เหลี่ยม อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์

Main Article Content

ทศพร แก้วขวัญไกร
รพีพรรณ พงษ์อินทร์วงศ์

บทคัดย่อ

งานวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาบริบทพื้นฐานทั่วไป 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลของความยากจน 3) เพื่อหาแนวทางการบูรณาการแก้ไขความยากจน กลุ่มตัวอย่างใช้ในการวิจัย จำนวน 150 ตัวอย่าง มีเครื่องมือในการวิจัยใช้เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ผลการวิจัย พบว่า 1) บริบทพื้นฐานทั่วไปส่วนมากเป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 30-39 ปี รายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่ำกว่า 5,000 บาท ครอบครัวส่วนใหญ่เป็นเกษตรกร ขนาดครอบครัว 4-6 คน มีความยากจนขัดสน มีหนี้ในระบบและนอกระบบ 2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความยากจน เกิดจากภาระหนี้สินสูง รายได้ต่ำ รวมทั้งรับผิดชอบต่อครอบครัวที่มีขนาดใหญ่ 3) แนวทางการแก้ไขความยากจน เน้นสร้างนิสัยและทัศนคติการพัฒนาตนเอง รัฐบาลมีบทบาทสำคัญช่วยเหลือทั้งภาระหนี้สิน สนับสนุนการศึกษา สุขภาพและการพัฒนาคุณภาพชีวิต

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กองบรรณาธิการ The Active. (2565). ความจริงของคนจน : นโยบายแก้จน 5 ทศวรรษ | The

Active. The Active. Published October 21, 2022. Accessed September 25, 2023.

https://theactive.net/data/truth-about-poverty-poor/

ทศพร แก้วขวัญไกร. (2561). การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบความอยู่รอดการจัดการกลุ่มชุมชนทอผ้าไหม

อำเภอบ้านด่าน จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารเศรษฐศาสตร์และกลยุทธ์การจัดการ

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา, 5(2), 67-85.

ทศพร แก้วขวัญไกร. (2564). แนวทางการมีส่วนร่วมในการบรรเทาปัญหาการใช้น้ำชุมชน บ้านสง่างาม ตำบล

สะแกซำ อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏ

อุบลราชธานี, 8(2), 111-126.

ไทยแลนด์พลัส. (2566). ความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย ประเด็น ESG ที่ต้องเร่งแก้ไข เพื่อการ

เติบโตที่ทั่วถึงและยั่งยืน. Thailandplus.tv. Published August 16, 2023. Accessed

September 25, 2023. https://www.thailandplus.tv/archives/730447

ปาโบล อูโคอา. (2562). โลกขจัดความยากจนลงไปได้บ้างแล้วจริงหรือ - BBC News ไทย. BBC

News ไทย. Published October 18, 2019. Accessed September 25, 2023.

https://www.bbc.com/thai/international-50072975

พิรญาณ์ รณภาพ. (2566). ลดความเหลื่อมล้ำ นำไทยสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน | PIER. Pier.or.th.

Published 2023. Accessed September 25, 2023. https://www.pier.or.th/abridged/2021/06/

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2563). สถิติจำนวนประชากรและบ้าน ประจำปี 2562. สำนักงานสถิติ

แห่งชาติ.

สิน พันธุ์พินิจ. (2553). เทคนิคการวิจัยสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิทยาพัฒน์.

องค์การอนามัยโลก (2563). สถานการณ์สุขภาพของประชากรทั่วโลก ประจำปี 2562. องค์การ

อนามัยโลก.

Doe, J. (2019). The Challenges of Poverty and Welfare Systems. Journal of Social Welfare,

(3), 45-67.

Haberman, M. (2009). The Impact of Poverty on Education. Education, 130(4), 757-764.

Rovinelli R. J., & Hambleton R. K. (1977). On the use of content specialists in the assessment

of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal of Educational Research,

, 49-60.

Smith, J. (2018). The Impact of Poverty on Debt. Journal of Economic Research, 25(2),

-60.

Stelmach, R. M., & Stelmach, A. M. (2019). The Impact of Poverty on Financial Planning and

Saving Behavior. Journal of Financial Planning, 32(4), 42-47.

Yamane, Taro. (1970). Statistics – An Introductory Analysis. 2nd. ed. Tokyo: John Weather

Hill, Inc.