คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษายุคประเทศไทย 4.0 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์
Main Article Content
บทคัดย่อ
The purposes of this research are to study and compare opinions of teachers on the Desired Characteristics of School Administrators in Thailand 4.0 under Buriram Secondary Educational Service Area Office. Classified by educational level, work experience and academic standing. The sampling was obtained by stratified sampling and the sampling was determined according to Cohen table of 283 subjects. The research instrument was questionnaires checking the validity of IOC between 0.8-1.0, Cronbach's alpha coefficient was 0.970. The statistics used in the research were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and One-way ANOVA analysis of variance was found, when differences were found, a pair of tests was performed according to the Scheffé method (Scheffé's post hoc comparison).
The research results were found that (1) Teachers have an opinion on the Desired Characteristics of School Administrators in Thailand 4.0 under Buriram Secondary Educational Service Area Office, the overall and each aspect are in a high level. (2) Teachers with the different educational levels, work experience and academic standing have the same opinions on the Desired Characteristics of School Administrators in Thailand 4.0 under Buriram Secondary Educational Service Area Office, Overall found no difference. when considering each aspect, Teachers with different academic backgrounds have opinions on Knowledge-ability, Personality and Human relations The difference was statistically significant at the .05 level.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื่อหาและข้อมูลในบทความ เป็นความรับผิดชอบของผุ้แต่ง
บทความในวารสารเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิจัยและนวัตกรรมท้องถิ่น
References
กิตติพิชญ์ มั่งสุข. (2563). คุณลักษณะของผู้บริหารมืออาชีพที่ส่งผลต่อสมรรถนะหลักของครูในโรงเรียน สังกัด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.
แก้วมณี โสพิน. (2563). คุณลักษณะผู้บริหารสถานศึกษาที่พึงประสงค์ของข้าราชการครูในเครือข่ายพันธปัญญา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2. สารนิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
คมคาย น้อยสิทธิ์. (2561). ผู้บริหารยุคการศึกษา 4.0. วารสารครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 46(4), 40-57.
ชลดา เหลืองประเสริฐ. (2560). คุณลักษณะผู้บริหารสถานศึกษามืออาชีพตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครู
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ
บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
ทิศากร กลิ่นบุบผา. (2562). คุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัด
การศึกษาต่อเนื่อง สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัด
ปราจีนบุรี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏราช
นครินทร์.
บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาส์น.
ปณตนนท์ เถียรประภากุล. (2561). ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคการศึกษา 4.0. วารสารสาขามนุษยศาสตร์
สังคมศาสตร์ และศิลปะ มหาวิทยาลัยศิลปากร,11(2), 1994-2013.
ประภัสรา จรุงศิลป์. (2561). ความคาดหลังของครูต่อคุณลักษณะผู้บริหารสถานศึกษามืออาชีพในยุคการศึกษา
ไทยแลนด์ 4.0 ศูนย์เครือข่ายคลองใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด. สารนิพนธ์
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.
ปิยะนาถ บุญมีพิพิธ และจำรัส แจ่มจันทร์. (2563). การบริหารการศึกษา...ไทยในยุคไทยแลนด์ 4.0.
วารสารวิชาการสถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ, 6(2), 550-558.
พงษ์ศักดิ์ ผกามาศ, ดรุณี ปัญจรัตนากร และอุดมวิทย์ ไชยสกุลเกียรติ. (2563). คุณลักษณะของผู้บริหาร
สถาบันอุดมศึกษาที่มีอิทธิพลต่อความทุ่มเทในการทำงานของบุคลากรทางการศึกษายุคประเทศไทย 4.0.
วารสารสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ, 11(1), 48-59.
พระมหาวัชรพงษ์ สอนมณี และศันสนีย์ จะสุวรรณ์. (2563). คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษา
ในยุคไทยแลนด์ 4.0 โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
กรุงเทพมหานคร. วารสารการวิจัยการบริหารการพัฒนา, 10(1), 42-52.
พัชริดา ทองมา. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษากับการบริหารแบบมีส่วนร่วม
ของผู้บริหารสถานศึกษาในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
พระนครศรีอยุธยา เขต 2. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ภานุวัฒน์ กล่อมอู่. (2564). การศึกษาคุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะของครู อำเภอดอนเจดีย์
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2. การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
วิภาลัย วงษา. (2563). คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารโรงเรียนในยุคไทยแลนด์ 4.0 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ศรายุทธ เมืองคำ. (2563). คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคประเทศไทย 4.0 ที่ส่งผลต่อ
ประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 18 จังหวัดระยอง.
วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.
ศรัญญา โนนคู่เขตโขง. (2562). คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
สดุดี จีระออน. (2561). คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0 ตามความคิดเห็น
ของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3.
วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ.
สุรัชพงศ์ สิกขาบัณฑิต. (2560). นโยบายประเทศไทย 4.0 : โอกาส อุปสรรค และผลประโยชน์ของไทยในภูมิภาค
อาเซียน. ค้นเมื่อ 12 พฤษภาคม 2565, จาก
https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/ewt_dl_link.php?nid=46816
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์. (2565). แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.
ค้นเมื่อ 11 พฤศจิกายน 2565, จาก https://drive.google.com/file/d/1_DRGLt0G87rM63tZSaombjK5wx2UQjjy/view