ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารงาน ตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี

Main Article Content

ธเนศพล อินทร์จันทร์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1)เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอบางปลาม้าจังหวัดสุพรรณบุรี 2)เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนที่มีความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารงาน ตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอบางปลาม้า กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาจำนวน 382 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม (Questionnaire) ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมาเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับที่มีค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 0.67-1.00และมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ.8526สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละเพื่ออธิบายข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, t-test, f-test เปรียบเทียบความแตกต่างรายคู่โดยใช้วิธี Scheffe


ผลการวิจัยพบว่าในภาพรวม 6 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านนิติธรรม มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด อยู่ในระดับมาก รองลงมาคือ ด้านหลักความคุ้มค่า อยู่ในระดับมาก ด้านหลักคุณธรรม, ด้านหลักความรับผิดชอบ อยู่ในระดับมาก ด้านหลักการมีส่วนร่วม อยู่ในระดับมาก และด้านหลักความโปร่งใส มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด อยู่ในระดับมาก ผลการเปรียบเทียบเพศ อายุ การศึกษา อาชีพ ที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอบางปลาม้าในภาพรวม 6 ด้าน พบว่าไม่แตกต่างกัน

Article Details

How to Cite
อินทร์จันทร์ ธ. . (2021). ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารงาน ตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี . วารสารวิจัยและนวัตกรรมท้องถิ่น, 16(2), 75–86. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/RDIBRU/article/view/254665
บท
บทความวิจัย
Author Biography

ธเนศพล อินทร์จันทร์, 0815354795

ประวัติ  

  1. ประวัติส่วนตัว                               ชื่อ – นามสกุล  

        - ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศพล  อินทร์จันทร์

        - Asst. Prof. Dr. Tanesphol Injun

 ตำแหน่งงานในปัจจุบัน :  

- รองอธิการบดีฝ่ายการศึกษาและอาจารย์ประจำหลักสูตร รัฐประศาสนศาสตร

  มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยพิษณุโลก

        - ที่ปรึกษากรรมาธิการวิสามัญพิจารณาการศึกษาและแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิ

           มนุษยชน คณะที่หนึ่ง สภาผู้แทนราษฎร

        - รองเลขาธิการสมาพันธ์หน่วยพัฒนาครูแห่งประเทศไทย

- รองประธานศูนย์เรียนรู้ศาสตร์พระราชาเพื่อพัฒนา SMEs อย่างยั่งยืน

  (วิสาหกิจเพื่อสังคม และวิสาหกิจชุมชน)

 หมายเลขบัตรประจำตัวประชาชน  3330100678108

         - เกิดวันอังคารที่ 9 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2506

สถานที่ทำงาน  

- มหาวิทยาลัยพิษณุโลก 93 หมู่ 5 ตำบลสมอแข

  อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000

ที่อยู่ปัจจุบัน 

- เลขที่ 138/59 ซ.กำแพงเพชร 6 ซอย 7 แยก 3-4 (ละออทิพย์)

   แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่  กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์  10210    

- โทรศัพท์ 081 535 4795 Email :tanesphol2011@gmail.com

- ID Line:tanesphol

ภูมิลำเนา

          - เลขที่  555 / 25 หมู่บ้านสิริมงคล 3 ถนนมหาราช  ตำบลโพธิ์

            อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ  33000

References

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2551). สถิติสำหรับงานวิจัย. กรุงเทพฯ : ภาควิชาสถิติ
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฉัตรยุพิน บ่ายเที่ยง (2552). แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการโดยหลักธรรมาภิบาลตามการ รับรู้ของ
พนักงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภอท่าช้าง จังหวัดสิงห์บุรี. พระนครศรีอยุธยา: ยุทธศาสตร์
การพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
บวร วิเศษสุนทร (2550).ความคิดเห็นของประชาชนต่อการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ใน
องค์การบริหารส่วนจังหวัด ในอำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย.วิทยานิพนธ์
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ประภาพร มะลินิล. (2551). ธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลคลองข่อย
อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี. วิทยานิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ภูมินทร์ แฝงจันดา. (2553). ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการบริหารงาน
ตามหลักธรรมาภิบาล ของเทศบาลเมืองมหาสารคาม อำเภอเมือง
จังหวัดมหาสารคาม. วิทยานิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สัญญา นามบุตร (2553) แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการงานธุรการของเทศบาลตำบลบ้านเชี่ยวหลาน
อำเภอบ้านตาขุน จังหวัดสุราษฎ์ธานี.การศึกษาอิสระ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยการ
ปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอบแก่น.
อรทัย ใจแก้ว. (2553). การศึกษาการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของ
องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.