การทดลองใช้โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของผลการดำเนินงานทางธุรกิจ ของวิสาหกิจชุมชนผลิตสินค้าเกษตรแปรรูปในสามจังหวัดชายแดนใต้

ผู้แต่ง

  • ชมพูนุท ศรีพงษ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

DOI:

https://doi.org/10.14456/tisr.2024.16

คำสำคัญ:

ผลการดำเนินงานทางธุรกิจ, วิสาหกิจชุมชน, สินค้าเกษตรแปรรูป

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดลองใช้โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของผลการดำเนินงานทางธุรกิจของวิสาหกิจชุมชนผลิตสินค้าเกษตรแปรรูปในสามจังหวัดชายแดนใต้ รูปแบบการวิจัยเป็นแบบกึ่งทดลอง เก็บรวมรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ และปฏิบัติการพัฒนาตามโมเดลกับสมาชิกวิสาหกิจชุมชนซึ่งได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมการวิจัย จำนวน 4 คน รวมทั้งสอบถามผู้บริโภค จำนวน 100 คน เมื่อพัฒนาวิสาหกิจชุมชนตามโมเดลที่กำหนด พบว่า สมาชิกของวิสาหกิจชุมชนมีความสามารถมากขึ้นในการเป็นผู้ประกอบการ โดยเฉพาะด้านความสามารถทางนวัตกรรม อีกทั้งมีความสามารถในการจัดการธุรกิจ โดยเฉพาะในเรื่องการวางแผนการเงินและการทำบัญชี การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การส่งเสริมการตลาด และการจัดจำหน่าย นอกจากนี้สมาชิกวิสาหกิจชุมชนสามารถถ่ายทอดความรู้ภายในกลุ่ม และจัดทำนโยบายการให้สวัสดิการแก่สมาชิกเพื่อสร้างขวัญกำลังใจ ส่งผลให้การดำเนินงานทางธุรกิจของกลุ่มดีขึ้นในด้านการเงิน ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการภายใน และด้านการเรียนรู้และเติบโต อย่างไรก็ดีสมาชิกวิสาหกิจชุมชนควรปรับปรุงความสามารถในการเป็นผู้ประกอบการ และการจัดการธุรกิจอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สอดรับการสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไป

References

กมลวรรณ สังทอง, ณัฐวุฒิ สังข์เพชร, ธนาภรณ์ ร่างสีคง, นุสรา บุญเฉลียว, ปรินธร สุขชู, พรรษา ภาบุบผากาญจน, วริษฐา ชะนะชัย, ศิครินทร์ ศรีกิจตยนนท์, อรรถธรรม อนงค์, ฬุลิยา ธีระธัญศิริกุล และ สิริภัทร์ โชติช่วง. (2563). ปัจจัยแห่งความสำเร็จด้านการบริหารจัดการของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพื่อความยั่งยืน. วารสารธุรกิจปริทัศน์, 12(2), 211-220.

กรมส่งเสริมการเกษตร. (2565). รายงานสรุปผลการประมินศักยภาพวิสาหกิจชุมชน จำแนกตามพื้นที่. สืบค้นจาก http://smce.doae.go.th/smce1/report/select_report_smce.php?report_id=17.

กลุ่มงานบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน. (2565). แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคชายแดน พ.ศ.2566-2570. สืบค้นจาก https://osmsouth-border.go.th/news_develop.

กาญจนา สุระ. (2562). การพัฒนาเพื่อยกระดับศักยภาพการจัดการธุรกิจของชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 39(4), 89-114.

ทวี วัชระเกียรติศักดิ์, ศิริพร เลิศยิ่งยศ และ ยุทธกร ฤทธิ์ไธสง. (2562). การพัฒนารูปแบบความสำเร็จในการประกอบการสำหรับวิสาหกิจรายย่อย. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 8(2), 118-141.

ธนภรณ์ จันทร์แย้ม, อนุชิต โมลา และ กัมปนาท วงษ์วัฒนพงษ์. (2566). นโยบายการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนยั่งยืนเพื่อสร้างความเข้มแข็งเศรษฐกิจฐานรากของท้องถิ่น. วารสารสหวิทยาการวิจัยและวิชาการ, 3(4), 575-586.

ปริษา ชาติวาณิชกุล, สุชีรา ธนาวุฒิ และ สุธาสินี โพธิ์ชาธาร. (2564). อิทธิพลของการบริหารจัดการธุรกิจและกลยุทธ์ทางธุรกิจที่มีต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจชุมชน ในจังหวัดนครราชสีมา. วารสารชุมชนวิจัยและพัฒนาสังคม, 16(1), 194-205.

พชรพร วงษ์วาน. (2563). แนวทางการบริหารการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนสู่ความสำเร็จอย่างยั่งยืนของจังหวัดเพชรบุรี. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม, 15(1), 100-111.

รัชดา ภักดียิ่ง. (2563). การพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดขอนแก่น. Journal of Buddhist Education and Research, 6(1), 175-189.

สัสดี กำแพงดี, ปิยะดา มณีนิล และ ชมพูนุท ศรีพงษ์. (2566). โมเดลเชิงสาเหตุของการดำเนินธุรกิจของวิสาหกิจชุมชนผลิตสินค้าเกษตรแปรรูปในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้. ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ.2566-2570). สืบค้นจาก www.nesdc.go.th/article_attach/article_file_20230307173518.pdf.

Arabeche, Z., Soudani, A., Brahmi, M., Aldieri, L., Vinci, C., & Abdelli, M. (2022). Entrepreneurial Orientation, Organizational Culture and Business Performance in SMEs: Evidence from Emerging Economy. Sustainability, 14(9), 5160.

Kanaan-Jebna, J., Alabdullah, T., Ahmed, E., & Ayyasamy, R. (2022). Firm Performance and the Impact of Entrepreneurial Education and Entrepreneurial Competencies. Business Ethics and Leadership, 6(2), 68-77.

Kaplan, R., & Norton, D. (1996). The Balanced Scorecard: Translating Strategy into Action. Massachusetts: Harvard Business School Press.

Kyal, H., Mandal, A., Kujur, F., & Guha, S. (2022). Individual Entrepreneurial Orientation on MSME's Performance: The Mediating Effect of Employee Motivation and the Moderating Effect of Government Intervention. IIM Ranchi Journal of Management Studies, 1(1), 21-37.

Lawless, H., & Heymann, H. (2010). Sensory Evaluation of Food: Principles and Practices. Berlin: Springer.

Lim, C., & Teoh, K. (2021). Factors Influencing the SME Business Success in Malaysia. Annals of Human Resource Management Research, 1(1), 41-54.

Lumpkin, G., & Dess, G. (1996). Clarifying the Entrepreneurial Orientation Construct and Linking It to Performance. Academy of Management Review, 21(1), 135-172.

Sariwulan, T., Suparno, S., Disman, D., Ahman, E., & Suwatno, S. (2020). Entrepreneurial Performance: The Role of Literacy and Skills. The Journal of Asian Finance, Economics and Business, 7(11), 269-280.

Xiao, Y., Wu, K., Finn, D., & Chandrasekhar, D. (2022). Community Businesses as Social Units in Post-Disaster Recovery. Journal of Planning Education and Research, 42(1), 76-89.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-05-16

How to Cite

ศรีพงษ์ ช. (2024). การทดลองใช้โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของผลการดำเนินงานทางธุรกิจ ของวิสาหกิจชุมชนผลิตสินค้าเกษตรแปรรูปในสามจังหวัดชายแดนใต้. สหวิทยาการและความยั่งยืนปริทรรศน์ไทย, 13(1), 184–194. https://doi.org/10.14456/tisr.2024.16