การพัฒนากลยุทธ์เชิงบวกในการจัดการตนเองเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ทางสุขภาวะตามแนวชีวิตวิถีใหม่ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน

ผู้แต่ง

  • ชัยณัฐ สุรพิชญ์พงศ์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
  • ประสาร มาลากุล ณ อยุธยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
  • ผ่องพรรณ เกิดพิทักษ์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

DOI:

https://doi.org/10.14456/tisr.2024.12

คำสำคัญ:

กลยุทธ์เชิงบวก, การจัดการตนเอง, ภูมิคุ้มกันทางสุขภาวะ, ชีวิตวิถีใหม่, ผู้ป่วยโรคเบาหวาน

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสานวิธีพื้นฐานมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากลยุทธ์เชิงบวกในการจัดการตนเองเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางสุขภาวะตามแนวชีวิตวิถีใหม่ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน จังหวัดสมุทรปราการ ได้มาจากการคัดเลือกแบบหลายขั้นตอน จำนวน 847 คน ผลการวิจัยสรุปดังนี้ 1) ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของภูมิคุ้มกันทางสุขภาวะตามแนวชีวิตวิถีใหม่ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าความตรงเชิงโครงสร้างเท่ากับ 0.820 และมีค่าเฉลี่ยของความแปรปรวนในองค์ประกอบที่สกัดได้เท่ากับ 0.559 2) ภูมิคุ้มกันทางสุขภาวะตามแนวชีวิตวิถีใหม่ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับสูง 3) กลยุทธ์เชิงบวกในการจัดการตนเองที่พัฒนาขึ้นเป็นการบูรณาการแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวก แนวคิดการจัดการตนเอง และแนวคิดความฉลาดรู้ทางสุขภาวะ 4) ผลการทดลองพบว่ากลุ่มทดลองที่ได้รับ กลยุทธ์เชิงบวกในการจัดการตนเอง หลังการทดลอง และหลังการติดตามผล มีค่าเฉลี่ยภูมิคุ้มกันทางสุขภาวะตามแนวชีวิตวิถีใหม่ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน สูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

References

กรมควบคุมโรค. (2564). รณรงค์วันเบาหวานโลก ปี 2564 ตระหนักถึงการดูแลรักษาโรคเบาหวาน ให้ได้รับการรักษาอย่างทั่วถึง. สืบค้นจาก https://ddc.moph.go.th/brc/news.php?news=%2021692&deptcode=brc.

กรมสุขภาพจิต. (2562). คู่มือสร้างสรรค์พลังใจให้วัยทีน. กรุงเทพฯ: บียอนด์ พับลิสซิ่ง จำกัด.

กองส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต. (2563). องค์ความรู้การดูแลสุขภาพใจในสถานการณ์การระบาดโควิด-19 “ใจพร้อม ไม่ยอมป่วย”. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข.

ชัญญาภัค คงทน. (2560). วิเคราะห์ปัจจัยเพื่อทำนายพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี. วารสารโรงพยาบาลแพร่, 25(1), 24-35.

ทองสา บุตรงาม, จารุมาศ แสงสว่าง, เขมิกา อารมณ์ และ ศิริศักดิ์ มากมี. (2566). พฤติกรรมการปรับตัวบนชีวิตวิถีใหม่ หลังสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประชาชนในจังหวัดบุรีรัมย์. ราชาวดีสาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์, 13(1), 1-12.

ภาวนา กีรติยุตวงศ์ และ สมจิต หนุเจริญกุล. (2553). การติดตามประสิทธิภาพในระยะยาวของโปรแกรมการจัดการดูแลตนเองในผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2. วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล, 16(2), 293-308.

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2553). พจนานุกรมศัพท์จิตวิทยา ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ไอเดียสแควร์.

อุดมพร พรหมด้วง. (2558). การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน โรงพยาบาลบ้านตาขุน. วารสารวิชาการแพทย์ เขต 11, 29(3), 475-486.

Boehm, J., Peterson, C., Kivimaki, M., & Kubzansky, L. (2011). A Prospective Study of Positive Psychological Well-Being and Coronary Heart Disease. Health Psychology, 30(3), 259-267.

Chen, M., Wang, R., Cheng, C., Chin, C., Stocker, J., Tang, S., & Chen, S. (2011). Diabetes Empowerment Process Scale: Development and Psychometric Testing of the Chinese Version. Journal of Advanced Nursing, 67(1), 204-214.

Creer, T. (2000). Self-Management of Chronic Illness. In Handbook of self-regulation (pp. 601-629). Massachusetts: Academic Press.

Creswell, J. (2011). Educational Research: Planning, Conducting, and Evaluating Quantative and Qualitative Research. New Jersey: Pearson Education International.

du Pon, E., Wildeboer, A., van Dooren, A., Bilo, H., Kleefstra, N., & van Dulmen, S. (2019). Active Participation of Patients with Type 2 Diabetes in Consultations with Their Primary Care Practice Nurses-What Helps and What Hinders: A Qualitative Study. BMC Health Services Research, 19, 814.

Duftschmid, G., Rinner, C., Sauter, S., Endel, G., Klimek, P., Mitsch, C., & Heinzl, H. (2019). Patient-Sharing Relations in the Treatment of Diabetes and Their Implications for Health Information Exchange: Claims-Based Analysis. JMIR Medical Informatics, 7(2), e12172.

Faghir-Gangi, M., Moameri, H., Abdolmohamadi, N., & Nematollahi, S. (2020). The Prevalence of Type 2 Diabetes in Patients with COVID-19: A Systematic Review and Meta-Analysis. Clinical Diabetology, 9(5), 271-278.

Hair, J., Black, W., Babin, B., & Anderson, R. (2010). Multivariate Data Analysis. 7th ed. New York: Pearson Prentice Hall.

Inzucchi, S., Bergenstal, R., Buse, J., Diamant, M., Ferrannini, E., Nauck, M., Peters, A., Tsapas, A., Wender, R., & Matthews, D. (2015). Management of Hyperglycemia in Type 2 Diabetes, 2015: A Patient-Centered Approach: Update to a Position Statement of the American Diabetes Association and the European Association for the Study of Diabetes. Diabetes Care, 38(1), 140-149.

Khoshouei, M. (2009). Psychometric Evaluation of the Connor-Davidson Resilience Scale (CD-RISC) Using Iranian Students. International Journal of Testing, 9(1), 60-66.

Naughton, M., Yi-Frazier, J., Morgan, T., Seid, M., Lawrence, J., Klingensmith, G., Waitzfelder, B., Standiford, D., & Loots, B. (2014). Longitudinal Associations between Sex, Diabetes Self-Care, and Health-Related Quality of Life among Youth with Type 1 or Type 2 Diabetes Mellitus. The Journal of Pediatrics, 164(6), 1376-1383.

Nutbeam, D. (2008). The Evolving Concept of Health Literacy. Social Science & Medicine, 67(12), 2072-2078.

Rosta, L., Menyhart, A., Mahmeed, W., Al-Rasadi, K., Al-Alawi, K., Banach, M., Banerjee, Y., Ceriello, A., Cesur, M., Cosentino, F., Firenze, A., Galia, M., Goh, S., Janez, A., Kalra, S., Kapoor, N., Lessan, N., Lotufo, P., Papanas, N., Rizvi, A., Sahebkar, A., Santos, R., Stoian, A., Toth, P., Viswanathan, V., Kempler, P., & Rizzo, M. (2023). Telemedicine for Diabetes Management during COVID-19: What we have Learnt, What and How to Implement. Frontiers in Endocrinology, 14, 1129793.

Schreurs, K., Colland, V., Kuijer, R., de Ridder, D., & van Elderen, T. (2003). Development, Content, and Process Evaluation of a Short Self-Management Intervention in Patients with Chronic Diseases Requiring Self-Care Behaviors. Patient Education and Counseling, 51(2), 133-141.

Seligman, M., & Csikszentmihalyi, M. (2000). Positive Psychology: An Introduction. American Psychologist, 55(1), 5-14.

Seligman, M., & Csikszentmihalyi, M. (2014). Positive Psychology: An Introduction. In M. Csikszentmihalyi. (ed.). Flow and the Foundations of Positive Psychology (pp. 279-298). Dordrecht: Springer.

Yu, J., Xu, T., James, R., Lu, W., & Hoffman, J. (2020). Relationship between Diabetes, Stress, and Self-Management to Inform Chronic Disease Product Development: Retrospective Cross-Sectional Study. JMIR Diabetes, 5(4), e20888.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-04-29

How to Cite

สุรพิชญ์พงศ์ ช., มาลากุล ณ อยุธยา ป., & เกิดพิทักษ์ ผ. (2024). การพัฒนากลยุทธ์เชิงบวกในการจัดการตนเองเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ทางสุขภาวะตามแนวชีวิตวิถีใหม่ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน. สหวิทยาการและความยั่งยืนปริทรรศน์ไทย, 13(1), 134–151. https://doi.org/10.14456/tisr.2024.12