การทำนายความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับการท่องเที่ยวของนักศึกษาปริญญาตรี

ผู้แต่ง

  • เกรียงศักดิ์ จารุโรจนพล คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • ดวงเดือน พันธุมนาวิน คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • ดุจเดือน พันธุมนาวิน คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

DOI:

https://doi.org/10.14456/tisr.2024.6

คำสำคัญ:

ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน, การท่องเที่ยว, นักศึกษาปริญญาตรี

บทคัดย่อ

การท่องเที่ยวเป็นแหล่งรายได้ที่สำคัญของประเทศ แต่การท่องเที่ยวก็นำไปสู่ผลกระทบทางลบในสังคมได้ อันเนื่องมาจากการรับรู้ที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการท่องเที่ยวโดยเฉพาะในประชาชนรุ่นใหม่ การวิจัยนี้จึงทำการศึกษาปัจจัยเชิงเหตุทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในนักศึกษาปริญญาตรี จำนวน 653 คน ผลการวิจัยปรากฏว่า ตัวทำนายที่สำคัญของความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับการท่องเที่ยว ได้แก่ ลักษณะมุ่งอนาคตควบคุมตน ปทัสฐานทางสังคม การรู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา และประสบการณ์ที่เกี่ยวกับนักท่องเที่ยว โดยนักศึกษาที่มีลักษณะเหล่านี้มาก เป็นผู้ที่มีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนน้อย โดยมีปริมาณการทำนายในกลุ่มรวมเท่ากับ 44.23% ผลการวิจัยยังชี้ให้เห็นนักศึกษากลุ่มเสี่ยงและปัจจัยปกป้องที่อาจลดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในนักศึกษาเหล่านี้ เพื่อเสริมสร้างศักยภาพและความพร้อมในอนาคตที่นักศึกษาเหล่านี้จะเข้าสู่อาชีพเกี่ยวกับการท่องเที่ยวที่จะนำการพัฒนาประเทศเศรษฐกิจที่ควบคู่ไปกับการพัฒนาที่ยั่งยืนทางสังคมและสิ่งแวดล้อม

References

กิตติมา พันธ์พฤกษา. (2563). มโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อน เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 31(2), 189-206.

คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง. (2547). เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร. กรุงเทพฯ: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

คมนา วัชรธานินท์. (2546). ปัจจัยเชิงเหตุและผลที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมอาสาสมัครพัฒนาของนักศึกษามหาวิทยาลัย. การค้นคว้าอิสระ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2541). ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรม: การวิจัยและการพัฒนาบุคคล. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2555). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน. วารสารวิจัยและพัฒนาหลักสูตร, 2(1), 68-74.

นวพล นนทภา. (2563). การศึกษามโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนทางตรรกศาสตร์สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามประเทศไทย. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 17(3), 41-53.

วรทัศน์ วัฒนชีวโนปกรณ์. (2555). ปัจจัยเชิงเหตุทางจิตและสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมใฝ่รู้ใฝ่ดีของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. การค้นคว้าอิสระ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วันเพ็ญ คำเทศ. (2560). มโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนทางวิทยาศาสตร์: ประเภทและเครื่องมือประเมิน. วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ., 10(2), 54-64.

สุภะรัฐ ยอดระบำ. (2548). ปัจจัยเชิงเหตุแบบบูรณาการด้านบ้าน สถานศึกษา และจิตลักษณะ ที่เกี่ยวข้องกับความตั้งใจที่จะรับผิดชอบครอบครัวของนักศึกษาชายระดับปริญญาตรี. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

Allport, G., & Odbert, H. (1936). Trait-names: A psycho-lexical study. Psychological Monographs, 47(1), i-171.

Batson, C. (2022). Prosocial motivation: A Lewinian approach. Motivation Science, 8(1), 1-10.

Batson, C., Duncan, B., Ackerman, P., Buckley, T., & Birch, K. (1981). Is empathic emotion a source of altruistic motivation?. Journal of Personality and Social Psychology, 40(2), 290-302.

Bloom, B. (1956). Taxonomy of educational objectives, Handbook I: The cognitive domain. New York: David McKay Co Inc.

Borg, K. (2022). Media and Social Norms: Exploring the Relationship between Media and Plastic Avoidance Social Norms. Environmental Communication, 16(3), 371-387.

Chaparro, M., & Grusec, J. (2016). Neuroticism moderates the relation between parenting and empathy and between empathy and prosocial behavior. Merrill-Palmer Quarterly, 62(2), 105-128.

Chotratanakamol, K., Bhanthumnavin, D., Bhanthumnavin, D., Meekun, K., Pimthong, S., & Kleebbua, C. (2023). The Nomological Model of Study-Life Balance in Thai University Students. The Journal of Behavioral Science, 18(2), 116-135.

Davis, M. (1996). Empathy: A Social Psychological Approach. New York: Routledge.

Endler, N., & Magnusson, D. (1976). Toward an interactional psychology of personality. Psychological Bulletin, 83(5), 956-974.

Fishbein, M., & Ajzen, I. (1975). Belief, Attitude, Intention, and Behavior: An Introduction to Theory and Research. Massachusetts: Addison-Wesley.

Hair, J., Black, W., Babin, B., & Anderson, R. (2010). Multivariate Data Analysis. 7th ed. New York: Pearson.

He, Y., Kunaviktikul, W., & Sirakamon, S. (2023). Core self-evaluation and subjective career success of nurses in the people’s hospitals of Dali, the People’s Republic of China. Nursing Journal CMU, 50(1), 31-42.

Judge, T., Erez, A., Bono, J., & Thoresen, C. (2003). The Core Self-Evaluations Scale: Development of a measure. Personnel Psychology, 56(2), 303-331.

Lipták, Z., & Tarkó, K. (2020). Health Education - Health Misconceptions - Teacher Training Lessons Learnt from a Hungarian Pilot Study. European Journal of Education, 3(2), 90-97.

National Research Council. (1997). Science teaching reconsidered: A handbook. Washington, D.C.: The National Academies Press.

Pallant, J. (2020). SPSS Survival Manual: A step by step guide to data analysis using IBM SPSS. 7th ed. London: Routledge.

Perkins, H., & Berkowitz, A. (1986). Perceiving the community norms of alcohol use among students: Some research implications for campus alcohol education programming. International Journal of the Addictions, 21(9-10), 961-976.

Pohan, E., Fitriani, Rambe, A., & Ariaji, R. (2020). Minimizing Misconception and Improving Student’s Conceptual Learning for Motion and Force Concepts by Student Worksheet (Lks)-Based of Cels (Combining Experiments by Laboratory Simulation). Journal of Physics: Conference Series, 1477, 042060.

Punpromthada, A., Bhanthumnavin, D., Bhanthumnavin, D., Meekun, S., Sitsira-at, C., & Pimthong, S. (2022). Preventing COVID-19 Spread at Home of Thai University Students through appropriate Psycho-Behavioral Model. Educational Sciences: Theory and Practice, 22(1), 101-115.

Reyna, V., Edelson, S., & Broniatowski, D. (2021). Misconceptions, misinformation, and moving forward in theories of COVID-19 risky behaviors. Journal of Applied Research in Memory and Cognition, 10(4), 537-541.

Rodriguez, L., Martí-Vilar, M., Reig, J., & Mesurado, B. (2021). Empathy as a predictor of prosocial behavior and the perceived seriousness of delinquent acts: A cross-cultural comparison of Argentina and Spain. Ethics & Behavior, 31(2), 91-101.

Saitua-Iribar, A., Corral-Lage, J., & Peña-Miguel, N. (2020). Improving Knowledge about the Sustainable Development Goals through a Collaborative Learning Methodology and Serious Game. Sustainability, 12(15), 6169.

Sakdapat, N. (2022a). Analysis of the Path of influence of work skills in the new normal life of the undergraduate students in Thailand. Przestrzeń Społeczna (Social Space), 22(3), 152-168.

Sakdapat, N. (2022b). Healthy food consumption behavior of working people in the capital city: A case study in Bangkok, Thailand. Przestrzeń Społeczna (Social Space), 22(3), 365-384.

Sakdapat, N., & Kongtraipop, V. (2023). Psychological and Situational Integrated Causal Factors Related to Traffic Rule Compliance Behavior of High School Students. Warasan Phuettikammasat, 29(1), 76-101.

Thaksabutr, K., Bhanthumnavin, D., & Bhanthumnavin, D. (2022). Psycho-situational predictors of knowledge exploring behavior among teachers. Turkish Journal of Physiotherapy and Rehabilitation, 32(3), 41216-41230.

Van Kleef, G., Gelfand, M., & Jetten, J. (2019). The dynamic nature of social norms: New perspectives on norm development, impact, violation, and enforcement. Journal of Experimental Social Psychology, 84, 103814.

Weixu, S., Mangkhang, C., & Maneekul, J. (2019). The Misconceptions of Chinese Cultural of Thai Students. Journal of Graduate MCU KhonKaen Campus, 6(3), 121-136.

Yaemyuean, A., Nonthachot, P., Uansaard, S., & Srisurak, C. (2023). The Effectiveness of an Integrated Training Session on Psychological Traits and Skills to Encourage the Behavior of Living based on Sufficiency Economy Philosophy among the Youth in the Community in the 21st Century. Journal of Namibian Studies, 33(S2), 697-717.

Yuan, X., Yu, L., & Wu, H. (2021). Awareness of Sustainable Development Goals among Students from a Chinese Senior High School. Education Sciences, 11(9), 458.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-02-16

How to Cite

จารุโรจนพล เ., พันธุมนาวิน ด., & พันธุมนาวิน ด. (2024). การทำนายความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับการท่องเที่ยวของนักศึกษาปริญญาตรี. สหวิทยาการและความยั่งยืนปริทรรศน์ไทย, 13(1), 66–76. https://doi.org/10.14456/tisr.2024.6