ผลของโปรแกรมการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองต่อการรับรู้ความสามารถการใช้เทคนิคการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด ของนักศึกษาพยาบาล
DOI:
https://doi.org/10.14456/tisr.2024.3คำสำคัญ:
สถานการณ์จำลอง, สัมพันธภาพเพื่อการบำบัด, การรับรู้ความสามารถบทคัดย่อ
การวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลองเพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการใช้สถานการณ์จำลองการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดต่อการรับรู้ความสามารถในการใช้เทคนิคการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดของนักศึกษาพยาบาล และเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถในการใช้เทคนิคการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดของนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี จำนวน 52 ราย ผลการวิจัย พบว่าภายหลังการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองนักศึกษามีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถในการใช้เทคนิคการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดสูงกว่าคะแนนก่อนการเตรียมความพร้อม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 การวิจัยนี้สนับสนุนให้ผู้สอน นำการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองมาใช้ เพื่อพัฒนาการรับรู้ความสามารถในการใช้เทคนิคการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดของนักศึกษาพยาบาลอันจะนำไปสู่การปฏิบัติการพยาบาลที่มีประสิทธิภาพต่อไป
References
นนทรัตน์ จำเริญวงศ์, ชลกนก ธนาภควัตกุล, สุพรรณิการ์ ปิยะรักษ์, ชยธิดา ไชยวงษ์ และ ทิพย์ ลือชัย. (2565). ผลการเตรียมความพร้อมในการฝึกปฏิบัติการพยาบาล โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงต่อการรับรู้ความสามารถและผลลัพธ์ที่คาดหวังในการฝึกปฏิบัติงานบนหอผู้ป่วยของนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี เชียงใหม่. วารสารแพทย์นาวี, 49(1), 135-149.
เนตรชนก แก้วจันทา และ ชมพูนุท กาบคำบา. (2566). การพยาบาลจิตเวช. ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.
มญช์พาณี ขำวงษ์, สุทธานันท์ กัลกะ, วิไลลักษณ์ ศิริมัย และ ชาลินี หนูชูสุข. (2563). ผลของการเรียนรู้โดยการใช้สถานการณ์จำลองต่อความมั่นใจในตนเอง ในการปฏิบัติทักษะการสนทนาเพื่อการบำบัดของนักศึกษาพยาบาล. วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล, 36(1), 201-212.
มุกข์ดา ผดุงยาม. (2561). การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชศาสตร์. กรุงเทพฯ: นีโอดิจิตอล.
วรางคณา คุ้มสุข. (2564). การใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงในการเตรียมความพร้อมก่อนฝึกปฏิบัติงานวิชาปฏิบัติการพยาบาลมารดาทารกและผดุงครรภ์ 1 ต่อความรู้ ความพึงพอใจและความมั่นใจในตนเองของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3. วารสารสาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 1(6), 1-15.
วัลลภา อันดารา และ ดลฤดี โรจน์วิริยะ. (2560). การศึกษาการใช้เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัดและการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัดกับผู้ป่วยจิตเวช. วารสารพยาบาลทหารบก, 18(2), 64-73.
ศุภรัตน์ แจ่มแจ้ง, วิรดา อรรถเมธากุล, รัตนา นิลเลื่อม และ นาตยา วงศ์ยะรา. (2564). ผลของการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางการพยาบาลและความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี, 4(3), 178-194.
สมจิตต์ สินธุชัย และ กันยารัตน์ อุบลวรรณ. (2560). การเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง: การนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน. วารสารพยาบาลทหารบก, 18(1), 29-38.
สุทธานันท์ กัลกะ, ขวัญตา ภูริวิทยาธีระ และ ปนิดา พุ่มพุทธ. (2556). เจตคติของนักศึกษาต่อการใช้สื่อภาพยนตร์ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิต. รามาธิบดีพยาบาลสาร, 19(1), 102-113.
สุนทรี ขะชาตย์, สุพัตรา จันทร์สุวรรณ, ปวิดา โพธิ์ทอง และ เสาวลักษณ์ ศรีโพธิ์. (2565). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองด้วยผู้ป่วยมาตรฐานเพื่อส่งเสริมความรู้ ความมั่นใจในความสามารถของตนเองและทักษะการสอสารเพื่อการบำบัด. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี, 5(2),
-60.
Aldhafeeri, F., & Alosaimi, D. (2020). Perception of Satisfaction and Self-Confidence with High Fidelity Simulation Among Nursing Students in Government Universities. Journal of Education and Practice, 11(11), 137-149.
Bandura, A. (1997). Self-efficacy: The exercise of control. New York: W.H. Freeman.
Brown, A. (2015). Simulation in Undergraduate Mental Health Nursing Education: A Literature Review. Clinical Simulation in Nursing, 11(10), 445-449.
Cohen, J. (1988). Statistical Power Analysis for the Behavioral Sciences. 2nd ed. New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates.
Dincer, B., & Ataman, H. (2020). The Effect of High Reality Simulation on Nursing Students’ Knowledge, Satisfaction, and Self-Confidence Levels in Learning. International Journal of Caring Sciences, 13(2), 894-900.
Gaylle, D. (2019). In-simulation Debriefing Increases Therapeutic Communication Skills. Nurse Educator, 44(6), 295-299.
Jeffries, P., & Clochesy, J. (2012). Clinical simulations: An experiential student-centred pedagogical approach. In D. Billings & J. Halstead. (eds.). Teaching in nursing: A guide for faculty (pp. 352-368). Missouri: Sauders Elsevier.
Kolb, D. (1984). Experiential Learning: Experience as the Source of Learning and Development. New Jersey: Prentice-Hall.
Mirhaghi, A., Sharafi, S., Bazzi, A., & Hasanzadeh, F. (2017). Therapeutic relationship: Is it still heart of nursing?. Nursing Reports, 7, 4-9.
Peplau, H. (1997). Peplau's theory of interpersonal relations. Nursing Science Quarterly, 10(4), 162-167.
Vandyk, A., Lalonde, M., Merali, S., Wright, E., Bajnok, I., & Davies, B. (2018). The use of psychiatry-focused simulation in undergraduate nursing education: A systematic search and review. International Journal of Mental Health Nursing, 27(2), 514-535.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 Authors
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.