ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกรับชมคอนเสิร์ตในรูปแบบออนไลน์
DOI:
https://doi.org/10.14456/tisr.2024.1คำสำคัญ:
คอนเสิร์ตออนไลน์, พฤติกรรมผู้บริโภค, อุตสาหกรรมดนตรีบทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่กำหนดพฤติกรรมการตัดสินใจบริโภคคอนเสิร์ตในรูปแบบออนไลน์ เพื่อเป็นข้อมูลให้กับผู้ประกอบการในการพัฒนาการให้บริการ และเพิ่มโอกาสในการเติบโตของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ประเภทดนตรี โดยผู้จัดทำเก็บแบบสอบถาม และสุ่มตัวอย่างแบบกำหนดโควตาตามระดับรายได้และประเภทคอนเสิร์ตที่รับชม จำนวน 396 ชุด ซึ่งจากการวิเคราะห์ด้วยการวิเคราะห์ความถดถอยโลจิสติกแบบทวิ พบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกรับชมคอนเสิร์ตในรูปแบบออนไลน์ ได้แก่ ความเหมาะสมหรือคุ้มค่าของราคาบัตร การมีส่วนร่วมกับศิลปิน ความถี่ในการรับชมคอนเสิร์ตรูปแบบกายภาพ และความเข้าใจในขั้นตอนการบริโภคคอนเสิร์ตออนไลน์
References
เกวรินทร์ ละเอียดดีนันท์. (2557). การยอมรับเทคโนโลยีและพฤติกรรมผู้บริโภคออนไลน์ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
จิรภัทร ทองบุญเรือง. (2559). การศึกษาพฤติกรรมและกลยุทธ์ทางการตลาดที่มีผลต่อการรับชมการเผยแพร่งานแสดงดนตรีสดและบันทึกการแสดงดนตรีสด ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระ นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ณัฏฐนิตย์ ปกป้อง. (2562). กลยุทธ์การจัดการแฟนคลับที่ส่งผลต่อการรับรู้ ทัศนคติ และการมีส่วนร่วมกับบอยแบนด์ไทยของแฟนคลับ. การค้นคว้าอิสระ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ณัฏฐนิตย์ ปกป้อง และ พรพรรณ ประจักษ์เนตร. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อและสนับสนุนวงบอยแบนด์ไทยของแฟนคลับ. วารสารนิเทศศาสตร์และนวัตกรรม นิด้า, 7(2), 24-41.
ณิชชา ยงกิจเจริญ. (2558). การเปิดรับข่าวสาร ทัศนคติ และแนวโน้มพฤติกรรมที่มีต่อศิลปินวง EXO ของกลุ่มแฟนคลับ EXO-L. การค้นคว้าอิสระ วารสารศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ธนวรรณ สำนวนกลาง. (2559). การยอมรับเทคโนโลยีการทำธุรกรรมทางการเงิน รูปแบบ "M-banking". การค้นคว้าอิสระ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ประชาชาติธุรกิจ. (2560). คอนเสิร์ตไทย-เทศแรงข้ามปี สะพรั่ง 20 งาน BEC ระดมตัวแม่จ่อคิวโชว์. สืบค้นจาก www.prachachat.net/marketing/news-76922.
ปิยะธิดา ยอดที่รัก, กิตติพันธ์ คงสวัสดิ์เกียรติ และ ไกรชิต สุตะเมือง. (2557). ปัจจัยการตัดสินใจเข้าชมคอนเสิร์ตซ้ำของผู้ชมในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ, 8(2), 70-79.
ภัณฑิรา สมประเสริฐสุข. (2562). การศึกษาทัศนคติและพฤติกรรมของกลุ่มแฟนคลับ BNK48 ในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระ นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ภัทราวดี วงศ์สุเมธ. (2556). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับและการใช้งานระบบการเรียนผ่านเว็บ. วารสารนักบริหาร, 33(3), 3-10.
ภานุพงศ์ เสกทวีลาภ. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจด้านพฤติกรรมการใช้ Cloud Storage ในระดับ Software-as-a-Service (SaaS) ของพนักงานองค์กรเอกชนในเขตพื้นที่เศรษฐกิจของกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
วรรณเพ็ญ บุญเพ็ญ. (2562). สำรวจอุตสาหกรรมดนตรีโลก และหนทางการปลุกปั้น “กรุงเทพฯ เมืองดนตรี”. สืบค้นจาก www.creativethailand.org/article-read?article_id=32251.
ศศกร ดำขำ. (2550). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกชมคอนเสิร์ตของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระ วารสารศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน). (ม.ป.ป). ฐานข้อมูลอุตสาหกรรมสร้างสรรค์: ดนตรี. สืบค้นจาก www.cea.or.th/th/single-statistic/creative-industry-database-music.
สิรัมชญา ศิวาบุตรี และ สุพาดา สิริกุตตา. (2557). แรงจูงใจ การรับรู้ ความคาดหวัง และพฤติกรรมการชมคอนเสิร์ตต่างประเทศในกรุงเทพมหานคร. วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ, 5(1), 25-42.
เอรินทร์ เผือกเกษม และ พรทิพย์ สัมปัตตะวนิช. (2563). ระดับความชื่นชอบไอดอลเกาหลีกับการตอบสนองต่อตราสินค้าของผู้บริโภค. วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา, 13(1), 127-140.
โอบนิธิ วชิรานุวงศ์. (2561). การยอมรับเทคโนโลยีการชำระเงินผ่านระบบคิวอาร์โค้ด (QR Code). การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Camilleri, M., & Falzon, L. (2021). Understanding motivations to use online streaming services: integrating the technology acceptance model (TAM) and the uses and gratifications theory (UGT). Spanish Journal of Marketing - ESIC, 25(2), 217-238.
Davis, F., Bagozzi, R., & Warshaw, P. (1989). User Acceptance of Computer Technology: A Comparison of Two Theoretical Models. Management Science, 35(8), 982-1003.
Kotler, P., & Armstrong, G. (2012). Principles of Marketing. 14th ed. London: Pearson Education.
MarketingOops. (2562). เปิด Timeline “10 จุดเปลี่ยนอุตสาหกรรมเพลงไทยกว่า 45 ปี” วิเคราะห์ผ่านเพลง-ศิลปินดังแต่ละยุค. สืบค้นจาก www.marketingoops.com/reports/industry-insight/timeline-10-turning-points-thailand-music-industry/.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 Authors
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.