การพัฒนาและสร้างช่องทางการตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชนตำบลทมอ อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และสังคมหลังโควิด - 19

ผู้แต่ง

  • อัษฎา วรรณกายนต์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
  • นิคม ลนขุนทด คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
  • เที่ยงธรรม สิทธิจันทเสน คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
  • สุรเชษฐ์ วรศรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
  • สุชาติ ดุมนิล คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
  • อภิชัย ไพรสินธุ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
  • แก้วตา ดียิ่งศิริกุล คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
  • ลลิลทิพย์ รุ่งเรือง คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
  • ปัทมาพร ท่อชู คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

DOI:

https://doi.org/10.14456/ajmt.2024.13

คำสำคัญ:

การพัฒนาช่องทางการตลาด, ผลิตภัณฑ์ชุมชน , เศรษฐกิจชุมชน, เศรษฐกิจและสังคมหลังโควิด - 19

บทคัดย่อ

 การพัฒนาและสร้างช่องทางการตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชนตำบลทมอ อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์พื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และสังคมหลัง COVID - 19 ดำเนินการภายใต้โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG เป็นโครงการที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจและสังคมในชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤติ COVID - 19 โดยการสนับสนุนชุมชนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และสร้างช่องทางการตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชน โดยมีวัตถุประสงค์ในการวิจัยเพื่อ 1) พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนตำบลทมอ อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ และ 2) สร้างช่องทางการตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชนตำบลทมอ อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย ได้แก่ ชาวบ้านตำบลทมอ อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ จำนวน 80 คน ผลการวิจัย พบว่า 1) ผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ถูกพัฒนาขึ้น มีด้วยกัน 2 ชนิด คือ ถ่านอัดแท่งและถ่านดูดกลิ่นเป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้สำหรับการเป็นเชื้อเพลิงในการทำอาหาร และการดูดกลิ่นอับเหม็นในสถานที่ต่าง ๆ และ 2) ช่องทางการตลาด 2 ช่องทาง คือ 1) การตลาดออฟไลน์ ได้แก่ ตลาดสินค้าเกษตรชุมชนอำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ เช่น ตลาดกรีนมอ ตลาดเขียวเกษตรอินทรีย์ และ 2) การตลาดออนไลน์ ได้แก่ ทำการตลาดบนเพจเฟซบุ๊ค และแอปพลิเคชันติ๊กต๊อก U2T For BCG ตำบลทมอ อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ดังนั้น การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน และการสร้างช่องทางการตลาด จึงเป็นการนำทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์ และสามารถนำมา จัดจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชน อีกทั้งยังเป็นการสร้างช่องทางการตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีประสิทธิภาพ  เป็นการเชื่อมโยงระหว่างตลาดภายในชุมชนและตลาดภายนอกชุมชน โดยสามารถสร้างการรับรู้และการตอบสนองต่อ   ความต้องการของลูกค้าได้อย่างเหมาะสม สร้างความแข็งแกร่งทางเศรษฐกิจของชุมชนต่อไป

References

Arnunworapong, A. (2014). Development patterns of community products in Bang Hua Suea Community, Samut Prakan Province, in accordance with the sufficiency economy philosophy. Journal of Fine Arts, Research, and Creative Works, Rajamangala University of Technology Thanyaburi, 1(2), 126-151.

Butrsali, P., Thasidam T., & Phlaengraksa, W. (2023). Developing value-added products from peanuts to enhance community income of Thai agricultural groups in Hu Thamonub Village, Pakham District, Buriram Province. Journal of Community Research, Nakhon Ratchasima Rajabhat University, 17(2), 28-41.

Ceala, P., Prungketyrt C., Samanuthat, C., Kaewbawdi, P., Chumsong K., Chansamai K., Thatsana V., & Baiphluthong S. (2022). Outcomes of driving the economy and society at the grassroots level post-COVID-19 through the BCG economic model in Ban Chob Subdistrict, Sangkha District, Surin Province. In Research and Innovation for BCG Development. The 13th Rajamangala Surin National Conference (pp. J237-J248). Rajamangala University of Technology Isan, Surin Campus.

Chithepha, J. & Phrmkhambute, A. (2022). Developing online market through facebook fan page of rairiya farm, Ban Meng Subdistrict, Nong Ruea District, Khon Kaen Province. Khon Kaen Agriculture Journal, 50(1), 85-91.

Chumket, J. (2017). Product development from local wisdom to enhance sustainable community management Efficiency of Thai Muslim Communities, Cha-am District, Phetchaburi Province. Faculty of ManagementScience, Silpakorn University.

Cultural Information Center. (2022). Thamor Subdistrict in 2022. http://www.m-culture.in.th/album/179447/%E0%B8%95%E0%B8%

B3%E0%B8%9A% E0%B8%A5%E0%B8%97%E0%B8%A1%E0%B8%AD

Dethamrong, U. & Suthamdee, D. (2022). Market channel development and value-added creation of one village one product in Kok Mang Ngoy Subdistrict, Khon Sawan District, Chaiyaphum Province. Innovation and Management Journal, 7(1), 123-136.

Kaewbawdi, P., Prungkelyrti P., Samanuthat, C., Ceala P., Satsue T., Chumsong K., Atchariyaphithak R., Thuranut P., & Yothasiri T. (2022). Outcomes of driving the economy and society at the grassroots level post-COVID-19 through the BCG economic model in Ban Jar Subdistrict, Sangkha District, Surin Province. In Research and Innovation for BCG Development. The 13th Rajamangala Surin National Conference (pp. J255-J236). Rajamangala University of Technology Isan, Surin Campus.

Manpraserth, S. (2022). The impact of the COVID-19 pandemic on the Thai economy. https://www.krungsri.com/th/krungsri-the-coach/investments/investment-knowledge/economic-covid-impact

McCarthy, E. J. & Perreault Jr, W. D. (1991). Basic marketing. McGraw-Hill.

Ochea, K. & Tungsawasdik, S. (2022). Digital marketing impact on online consumer purchasing behavior in Nakhon Chai Burin Province Group. Journal of Management Technology, 3(1), 57-70.

Office of the Permanent Secretary (OPS). (2022). Guidelines for implementing projects to drive the economy and society post-COVID with BCG Economics (U2T for BCG) for educational institutions. The Office of the Permanent Secretary of the Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation.

Prungkelyrti P., Samanuthat, C., Phngam N., Kaewbawdee P., Satsue T., Thambut T., Salaphai T., Phasuk S., & Khamsuriya S. (2022). Outcomes of driving the economy and society at the grassroots level post-COVID-19 through the BCG economic model in Kokklang Subdistrict, Lam Plai Mat District, Buriram Province. In Research and Innovation for BCG Development. The 13th Rajamangala Surin National Conference (pp. J214-J224). Rajamangala University of Technology Isan, Surin Campus.

Pokpoondee, P. (2022, September 23). U2T For BCG Thamore Sub-district, Prasat District, Surin Province. [Photograph]. Facebook. https://www.facebook.com/profile.php?id=100083729930405

Pokpoondee, P. (2022, September 25). U2T Thamo Sub-district, Prasat District, Surin Province “khn len than”. [Short Video]. Tik Tok. https://www.tiktok.com/@u2tthamo?_t=8oC7gS8FlO0&_r=1

Raphanthkham, N. (2019). Marketing channels. https://citly.me/Cvu2U

Rimphdl, W. (2554). Integrated marketing communication strategies for hotel businesses. Suan Dusit Rajabhat University.

Sampheawthong, W. (2018). Online marketing communication strategies and value creation for cosmetics product businesses. [Master’s thesis, Silpakorn University]. DSpace at Silpakorn University.http://ithesisir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/2062/1/60602711.pdf

Samanuthat, C., Prung ketyrt C., Ceala P., Kaewbawdee P., Satsue T., Chumsong K., Phimchan P., & Khongmi T.(2022). Results of the project to drive the economy and society post-COVID with BCG economics in Phra Kaew Subdistrict, Sangkha District, Surin Province. In Research and Innovation for BCG Development. The 13th Rajamangala Surin National Conference (pp. J249-J259). Rajamangala University of Technology Isan, Surin Campus.

Saychuea, S. (2022). Impact of the war between Russia and Ukraine (1). https://www.bangkokbiznews.com/columnist/994738

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-08-31

How to Cite

วรรณกายนต์ อ., ลนขุนทด น., สิทธิจันทเสน เ., วรศรี ส., ดุมนิล ส., ไพรสินธุ์ อ., ดียิ่งศิริกุล แ. ., รุ่งเรือง ล., & ท่อชู ป. (2024). การพัฒนาและสร้างช่องทางการตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชนตำบลทมอ อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และสังคมหลังโควิด - 19. วารสารวิชาการเทคโนโลยีการจัดการ, 5(2), 45–60. https://doi.org/10.14456/ajmt.2024.13