แนวทางการพัฒนาผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษามืออาชีพในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

ผู้แต่ง

  • ธดา สิทธิ์ธาดา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

DOI:

https://doi.org/10.14456/tisr.2025.30

คำสำคัญ:

ผู้บริหารสถานศึกษา, ยุคดิจิทัล, การพัฒนาวิชาชีพ, การบริหารการศึกษา, โรงเรียนประถมศึกษา

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอแนวทางการพัฒนาผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษามืออาชีพในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและความคาดหวังในการบริหารงานของผู้บริหาร ตลอดจนระบุความต้องการจำเป็นในการพัฒนา เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 วิธีการวิจัยประกอบด้วยการสำรวจความคิดเห็นของผู้บริหารและครูจำนวน 520 คน และการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการศึกษา ผลการวิจัยพบว่ามีความต้องการสูงในการพัฒนาด้านการบริหารงานวิชาการ งบประมาณ บุคลากร และงานทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้ การบริหารจัดการงบประมาณอย่างโปร่งใส การสร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการพัฒนาทักษะดิจิทัลสำหรับบุคลากรทางการศึกษา นอกจากนี้ ผลการวิจัยยังชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรภายนอกเพื่อสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียน ผลการวิจัยนี้เป็นประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบายและแนวปฏิบัติในการพัฒนาผู้บริหารโรงเรียนให้สามารถนำพาโรงเรียนสู่ความเป็นเลิศในยุคดิจิทัลได้อย่างยั่งยืน และสามารถตอบสนองความต้องการของผู้เรียนและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2565). นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567. สืบค้นจาก www.mpeo.go.th/ms/node/478.

แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579.

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ.2566-2570).

แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2566-2580) (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม).

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2567). นโยบายและจุดเน้นของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สืบค้นจาก www.obec.go.th/policy-obec/.

สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2567). ข้อมูล DMC สพฐ. สืบค้นจาก www.bopp.go.th/?page_id=878.

Anwar, K., Choeroni, Cakranegara, P., Surahman, S., & Sari, A. (2022). Leadership of School Principles in the Digital Era in Building Innoving Teacher Character HR. EduLine: Journal of Education and Learning Innovation, 2(4), 526-532.

Harvard University. (2025). Leading in the Digital Era: Drive growth by harnessing digital technologies and data analytics to build organizations that are agile, resilient, and sustainable. Retrieved from https://pll.harvard.edu/course/leading-digital-era.

James, S. (2024). The Role of a Principal of a School. Retrieved from https://educationwalkthrough.com/principal-of-a-school/.

Krejcie, R., & Morgan, D. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.

Levin, I., Semenov, A., & Gorsky, M. (2025). Smart Learning in the 21st Century: Advancing Constructionism Across Three Digital Epochs. Education Sciences, 15(1), 45.

Meador, D. (2019). Characteristics of a Highly Effective School Principal. Retrieved from www.thoughtco.com/characteristics-of-a-highly-effective-principal-3194554.

National Association of Elementary School Principals. (n.d.). Pillars, Practices, and Priorities for Effective Principals. Retrieved from www.naesp.org/sites/default/files/Leading%20Learning%20Communities%20Executive%20Summary.pdf.

Navaridas-Nalda, F., Emeterio, M., Fernández-Ortiz, R., & Arias-Oliva, M. (2020). The strategic influence of school principal leadership in the digital transformation of schools. Computers in Human Behavior, 112, 106481.

New Zealand Ministry of Education. (2024). Professional standards for primary school principals. Retrieved from www.educationalleaders.govt.nz/Leadership-development/Professional-information/Professional-standards-primary-school-principals.

Nurabadi, A., Suhariadi, F., Mardiyanta, A., Triwiyanto, T., & Adha, M. (2022). Digital principal instructional leadership in new normal era. International Journal of Evaluation and Research in Education, 11(3), 1090-1098.

SchoolDrillers. (n.d.). Principal Job Description: The Responsibilities and Duties. Retrieved from www.schooldrillers.com/principal-job-description/.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-04-06

How to Cite

สิทธิ์ธาดา ธ. (2025). แนวทางการพัฒนาผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษามืออาชีพในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. สหวิทยาการและความยั่งยืนปริทรรศน์ไทย, 14(1), บทความที่ 30. https://doi.org/10.14456/tisr.2025.30