การพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนคำพื้นฐานภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเขต 1 จังหวัดนครศรีธรรมราช
DOI:
https://doi.org/10.14456/tisr.2025.24คำสำคัญ:
การพัฒนาทักษะ, การอ่านและการเขียนคำพื้นฐานภาษาไทย, ทักษะการเรียนรู้ภาษาไทยบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการอ่านและเขียนคำพื้นฐาน ภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเขต 1 จังหวัดนครศรีธรรมราช ผลการวิจัย พบว่า ผลคะแนนการทดสอบการอ่านและการเขียนคำพื้นฐานภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 พบว่า โรงเรียนที่มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นมากที่สุดได้แก่โรงเรียน วัดดอนตรอ คิดเป็นร้อยละ 41.66 และผลการประเมินทักษะการอ่านและการเขียน ก่อนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 พบว่า โดยโรงเรียนที่มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นมากที่สุดได้แก่โรงเรียน วัดทางพูน คิดเป็นร้อยละ 27.15 และผลการประเมินทักษะการอ่านและการเขียน ก่อนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 พบว่า โดยโรงเรียนที่มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นมากที่สุดได้แก่โรงเรียน วัดทางพูน คิดเป็นร้อยละ 34.12
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย: เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
นงเยาว์ เลี่ยมขุนทด. (2547). การพัฒนาแผนการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่องการอ่านและการเขียนสะกดคำ โดยใช้แผนผังความคิด ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. การค้นคว้าอิสระ การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
บรรจง จันทร์พันธ์. (2548). การพัฒนาแผนการเรียนรู้และแบบฝึกทักษะภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำไม่ตรงตามมาตราตัวสะกด ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. การค้นคว้าอิสระ การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
บุญเกื้อ ควรหาเวช. (2542). นวัตกรรมการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปาลิดา อิธิตา. (2565). การสร้างแบบฝึกทักษะ การอ่านและการเขียนมาตราตัวสะกดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านมูเซอ สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1. วารสารวิจยวิชาการ, 5(1), 217-230.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2531). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์.
วันทนา สุวรรณอัตถ์. (2552). สถิติธุรกิจ. ลำปาง: มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.
ศกลวรรณ นภาพร. (2554). การพัฒนาชุดกิจกรรมเสริมทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ศิราณี แพทอง. (2561). การพัฒนาทักษะการอ่าน และการเขียนคำในภาษาไทยโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียน เรื่อง อ่านหรรษา พาเขียนเพลิน สำหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
สมบูรณ์ สุริยวงศ์, สมจิตรา เรืองศรี และ เพ็ญศรี เศรษฐวงศ์. (2544). ระเบียบวิธีวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
สำนักนโยบายและแผนการศึกษา. (2560). การวิจัยและพัฒนารูปแบบการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนฐานสมรรถนะตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ. กรุงเทพฯ: สำนักนโยบายและแผนการศึกษา.
สุนันทา แก้วเก็บคำ, บัญชา ธรรมบุตร และ มาโนช นันทพรม. (2567). การพัฒนาทักษะการอ่านและเขียนคำพื้นฐานภาษาไทยของระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้แบบทักษะการเรียนรู้ภาษาไทย. วารสารสันตยาภิวัฒน์ วัดหนองนกกด, 2(3), 1-13.
อัฐวุฒิ คำแสน และ สุรศักดิ์ ละลอกน้ำ. (2554). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยการใช้ชุดกิจกรรมปรับปรุงคุณภาพดินและการเปลี่ยนแปลงของดินสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 2(1), 11-21.
ไอดิน วงค์เจริญ, วิภาวี คีรีเบญจวรรณ, อรทัย ฤทธิ์ชูเกียรติ และ บุณฑริกา สุมนรัตนกูล. (2563). การพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนสะกดคาไม่ตรงมาตราตัวสะกดโดยใช้แบบฝึกทักษะ. วารสารล้านนาวิจัยปริทรรศน์, 1(1), 1-13.

Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 Authors

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.