การบริหารทรัพยากรในยุคเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อเสริมสร้างความยั่งยืน ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: กรณีศึกษาจังหวัดปทุมธานี
DOI:
https://doi.org/10.14456/tisr.2025.18คำสำคัญ:
การบริหารทรัพยากร, ความยั่งยืน, เศรษฐกิจหมุนเวียน, องค์กรภาครัฐบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับของปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การสนับสนุนจากภาครัฐและชุมชน การยอมรับแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน การจัดการทรัพยากรในองค์กร และการพัฒนาองค์กร 2) ศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างปัจจัยเหล่านี้ที่ส่งผลต่อความยั่งยืนในองค์กร และ 3) พัฒนาแนวทางการบริหารทรัพยากรในยุคเศรษฐกิจหมุนเวียน ผลการวิจัยพบว่า ระดับของปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การสนับสนุนจากภาครัฐและชุมชน การยอมรับแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน การจัดการทรัพยากรในองค์กร และการพัฒนาองค์กร อยู่ในระดับมาก ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างปัจจัยเหล่านี้ที่ส่งผลต่อความยั่งยืนในองค์กรมีความสัมพันธ์กันโดยเป็นไปตามสมติฐาน และแนวทางการบริหารทรัพยากรในยุคเศรษฐกิจหมุนเวียน การสนับสนุนจากภาครัฐและชุมชนมีบทบาทสำคัญในการเสริมสร้างการยอมรับแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนและการจัดการทรัพยากรในองค์กร นอกจากนี้ การพัฒนาองค์กรยังมีส่วนช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและความยั่งยืนในการบริหารทรัพยากร ผลการวิจัยเสนอแนวทางการบริหารทรัพยากรที่เน้นการบูรณาการเศรษฐกิจหมุนเวียน ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและชุมชน และการพัฒนาองค์กรเพื่อส่งเสริมความยั่งยืนในองค์กรภาครัฐ
References
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2563). ข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. สืบค้นจาก www.dla.go.th/work/abt/index.jsp.
ชนิดา อาคมวัฒนะ, พระธรรมวัชรบัณฑิต และ ขันทอง วัฒนะประดิษฐ์. (2567). สันตินวัตกรรมการพัฒนาระบบนิเวศองค์กรสุจริตเพื่อยกระดับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 12(3), 1054-1068.
เชิดพงษ์ วาณิชยานนท์ และ จเร สิงหโกวินท์. (2566). การพัฒนาโมเดลเศรษฐกิจ BCG กับดัชนีอยู่เย็นเป็นสุข. วารสารพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร, 25(2), 161-186.
พิสิฐ คําหวาย, พระมหาบุญเลิศ อินฺทปญฺโญ และ พระมหาประกาศิต สิริเมโธ. (2567). กลยุทธ์การบูรณาการภารกิจร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับหน่วยงานภาครัฐอื่นและเอกชนในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของชุมชนในเขตเทศบาลตําบลบางสีทอง อําเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี. วารสารศิลปศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ, 6(3), 742-756.
วรุณรัตน์ คนซื่อ. (2566). คุณลักษณะและองค์ประกอบผู้นำในการบริหารสถานศึกษา: การบริหารตามยุทธศาสตร์เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 11(6), 2559-2570.
สาทินี วัฒนกิจ, รอฮานา แวดอเลาะ, ณัฐชนา นวลยัง และ ธนากรณ์ ดําสุด. (2567). การใช้ประโยชน์จากฐานทรัพยากรท้องถิ่น เพื่อสร้างคุณค่า และเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ชุมชนผ่านกลไกการเรียนรู้และนวัตกรรม: กรณีศึกษาชุมชนรําแดง จังหวัดสงขลา. วารสารปาริชาต, 37(3), 621-635.
สุดารัตน์ พิมลรัตนกานต์, วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์ และ จันทนา แสนสุข. (2566). การสังเคราะห์งานวิจัย: ความสามารถในการจัดการนวัตกรรมเพื่อผลการดำเนินงานขององค์กรที่ยั่งยืนในประเทศไทย. วารสารวิชาการเซาธ์อีสท์บางกอก (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 8(1), 134-144.
Barney, J. (1991). Firm Resources and Sustained Competitive Advantage. Journal of Management, 17(1), 99-120.
Barney, J., & Griffin, R. (1992). The Management of Organisation: Strategy, Structure, Behaviour. Boston: Houghton Mifflin Company.
Brundtland, G. (1987). Our Common Future: Report of the World Commission on Environment and Development. New York: United Nations.
Creswell, J. (2014). Research Design: Qualitative, Quantitative and Mixed Methods Approaches. 4th ed. California: SAGE Publications.
Cronbach, L. (1951). Coefficient Alpha and the Internal Structure of Tests. Psychometrika, 16(3), 297-334.
Damanpour, F. (1991). Organizational innovation: A meta-analysis of effects of determinants and moderators. Academy of Management Journal, 34(3), 555-590.
Ellen MacArthur Foundation. (2013). Towards the circular economy: Economic and business rationale for an accelerated transition. Retrieved from www.ellenmacarthurfoundation.org/towards-the-circular-economy-vol-1-an-economic-and-business-rationale-for-an.
Hair, J., Black, W., Babin, B., & Anderson, R. (2010). Multivariate Data Analysis. 7th ed. New York: Pearson.
Jusoh, Z., Zubairi, A., & Badrasawi, K. (2018). Validity Evidence Using Expert Judgment: A Study of Using Item Congruence Involving Expert Judgements for Evidence for Validity of a Reading Test. Al-Shajarah: Journal of the International Institute of Islamic Thought and Civilization, (Special Issue: Education 2018) 307-320.
Patton, M. (1990). Qualitative evaluation and research methods. 2nd ed. California: Sage Publications, Inc.
Rovinelli, R., & Hambleton, R. (1977). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Tijdschrift voor Onderwijsresearch, 2(2), 49-60.
United Nations. (2023). Fast Facts – What is Plastic Pollution?. Retrieved from www.un.org/sustainabledevelopment/blog/2023/08/explainer-what-is-plastic-pollution/.

Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 Authors

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.