นักสื่อสารการตลาดชุมชน: การพัฒนาทักษะการสื่อสารการตลาดของเกษตรกรเพื่อส่งเสริมผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลานิลในจังหวัดเชียงราย

ผู้แต่ง

  • เสริมศิริ นิลดำ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
  • กษิดิศ ใจผาวัง คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
  • นิเวศ จีนะบุญเรือง คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
  • ศิริพรรณ จีนะบุญเรือง คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
  • กรกนก นิลดำ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
  • กฤศ โตธนายานนท์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
  • จิรพัฒน์ อุปถัมภ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

DOI:

https://doi.org/10.14456/tisr.2025.15

คำสำคัญ:

การสื่อสารการตลาด, เกษตรกร, การแปรรูปปลานิล, การพัฒนาทักษะ, นักสื่อสารการตลาดชุมชน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาประเด็นปัญหาของเกษตรกรในการสื่อสารการตลาด 2) เพื่อพัฒนาเกษตรกรให้เป็นนักสื่อสารการตลาดชุมชนในการสื่อสารการตลาดผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลานิลจังหวัดเชียงราย และ 3) เพื่อหาแนวทางในการส่งเสริมการพัฒนาเกษตรกรให้เป็นนักสื่อสารการตลาดชุมชนอย่างยั่งยืน โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ด้วยการสำรวจ การสนทนากลุ่ม และการสังเกต ดำเนินการศึกษาในกลุ่มเกษตรกรจำนวน 32 คน ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีการพัฒนาการด้านทักษะการสื่อสารการตลาดดิจิทัลในทุกองค์ประกอบ ได้แก่ ทักษะการเข้าถึง การวิเคราะห์และประเมิน การสร้างสรรค์ และการโต้ตอบ มีค่าเฉลี่ยการพัฒนาทักษะเพิ่มขึ้นจากระดับปานกลางเป็นระดับมากหลังการเข้าร่วมกิจกรรม เกษตรกรสามารถเป็นนักสื่อสารการตลาดชุมชนด้วยการผลิตเนื้อหาที่ดึงดูดผู้บริโภคได้ เช่น การเล่าเรื่องราวผลิตภัณฑ์ผ่านภาพและวิดีโอ การถ่ายทอดสดเพื่อจำหน่ายสินค้า และการเน้นอัตลักษณ์ท้องถิ่นของชุมชน ซึ่งช่วยเพิ่มการรับรู้ในผลิตภัณฑ์และความเชื่อมั่นของผู้บริโภค

References

พัชนี บุญเอก. (2566). สถานการณ์สินค้าปลานิลและผลิตภัณฑ์ ปี 2566 และแนวโน้มปี 2567. สืบค้นจาก www4.fisheries.go.th/local/file_announce/202403141256582_announce.pdf.

สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดเชียงราย. (2567). รายงานประจำปี พ.ศ.2567. เชียงราย: สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดเชียงราย.

เสริมศิริ นิลดำ, กรกนก นิลดำ, กฤษณะ แสงจันทร์, อภิสรา กฤตวาณิชย์ และ สาวิตรี พรหมสิทธิ์. (2563). การพัฒนาศักยภาพการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการผ่านสื่อดิจิทัลของเกษตรกรผู้ปลูกสับปะรดนางแล. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 15(1), 217-238.

องค์การบริหารส่วนตำบลศรีดอนไชย. (2566). รายงานเกษตรกรผู้เลี้ยงและแปรรูปผลิตภัณฑ์จากปลานิล. เชียงราย:องค์การบริหารส่วนตำบลศรีดอนไชย.

Alavi, M., & Leidner, D. (2001). Review: Knowledge Management and Knowledge Management Systems: Conceptual Foundations and Research Issues. MIS Quarterly, 25(1), 107-136.

Fog, K., Budtz, C., & Yakaboylu, B. (2005). Storytelling: Branding in Practice. Berlin: Springer.

Gumbi, N., Gumbi, L., & Twinomurinzi, H. (2023). Towards Sustainable Digital Agriculture for Smallholder Farmers: A Systematic Literature Review. Sustainability, 15(16), 12530.

Kitchen, P., & Burgmann, I. (2015). Integrated marketing communication: making it work at a strategic level. Journal of Business Strategy, 36(4), 34-39.

Kolb, D. (2015). Experiential Learning: Experience as the Source of Learning and Development. 2nd ed. London: Pearson Education, Inc.

Muntinga, D., Moorman, M., & Smit, E. (2011). Introducing COBRAs: Exploring Motivations for Brand-Related Social Media Use. International Journal of Advertising, 30(1), 13-46.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-01-02

How to Cite

นิลดำ เ., ใจผาวัง ก., จีนะบุญเรือง น., จีนะบุญเรือง ศ., นิลดำ ก., โตธนายานนท์ ก., & อุปถัมภ์ จ. (2025). นักสื่อสารการตลาดชุมชน: การพัฒนาทักษะการสื่อสารการตลาดของเกษตรกรเพื่อส่งเสริมผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลานิลในจังหวัดเชียงราย. สหวิทยาการและความยั่งยืนปริทรรศน์ไทย, 14(1), บทความที่ 15. https://doi.org/10.14456/tisr.2025.15