การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาสื่อเสมือนจริงแบบปฏิสัมพันธ์ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตำบลปากน้ำประแส จังหวัดระยอง

ผู้แต่ง

  • ยศกร วรรณวิจัตร คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
  • พงช์ศนัญ ชาญชัยชิณวรฒ์ คณะวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • กิตติยา แก้วสะเทือน คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
  • วาริท วสยางกูร คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก

DOI:

https://doi.org/10.14456/tisr.2025.10

คำสำคัญ:

การมีส่วนร่วมของชุมชน, เทคโนโลยีเสมือนจริง, การท่องเที่ยว, สื่อประชาสัมพันธ์

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อศึกษานโยบายการท่องเที่ยวและการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาสื่อเสมือนจริงแบบปฏิสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตำบลปากน้ำประแส จังหวัดระยอง 2) เพื่อพัฒนาสื่อเสมือนจริงแบบปฏิสัมพันธ์ และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการมีส่วนร่วมกับชุมชนและความพึงพอใจต่อการใช้สื่อ ผลการศึกษาพบว่า 1) การมีส่วนร่วมของชุมชนปากน้ำประแสอยู่ในทิศทางที่ดี มุ่งเน้นการสร้างความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในชุมชน มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน และมีข้อเสนอแนะว่าชุมชนสามารถนำเทคโนโลยีมายกระดับการท่องเที่ยวของชุมชนได้ 2) ความเหมาะสมของสื่อเสมือนจริงแบบปฏิสัมพันธ์ที่พัฒนาขึ้นอยู่ในระดับมากที่สุด และ 3) การมีส่วนร่วมของชุมชนมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลางกับความพึงพอใจต่อการใช้สื่อของทั้งชุมชนและนักท่องเที่ยว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

References

กิจอุดม เสือเจริญ, กานต์ บุญศิริ และ วิทยาธร ท่อแก้ว. (2567). การจัดการสื่อสารเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน. วารสารวิชาการ การจัดการภาครัฐและเอกชน, 6(1), 14-31.

จิตราภรณ์ ธาราพิทักษ์วงศ์. (2566). การพัฒนารูปแบบสารสนเทศที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มศักยภาพการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน อําเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 7(1), 1-18.

ธิดาภัทร อนุชาญ และ พิษณุ อนุชาญ. (2566). การพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยความเป็นจริงเสริมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้สถานที่ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ตามรอยพระพุทธเจ้าหลวง (รัชการที่ 5) ของจังหวัดสงขลา. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 33(3), 1-15.

ใบเฟิร์น วงษ์บัวงาม และ ญาณาธร เธียรถาวร. (2566). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการและการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ เพื่อนำไปสู่การเป็นเมืองสร้างสรรค์ จังหวัดเพชรบุรี. วิทยาการจัดการวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์, 4(3), 45-61.

ปริวรรต สมนึก. (2565). นวัตกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชน. อุบลราชธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

เพชราภรณ์ จันโทวาส, สุพาณี พ่วงก้อน, อมรรัตน์ กลิ่นสุมาลี, อธิป จันทร์สุริย์ และ ขวัญณภัทร ขนอนคราม. (2566). แนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวตามองค์ประกอบการท่องเที่ยว ชุมชนขนมแปลก จังหวัดจันทบุรี. วารสารมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล (มนุษยศาสตร์ และ สังคมศาสตร์), 1(1), 65-77.

ฤดี เสริมชยุต. (2563). กลยุทธ์การส่งเสริมการตลาด สำหรับการท่องเที่ยวชุมชน. วารสารสังคมวิจัยและพัฒนา, 2(4), 51-61.

วิมลพร ระเวงวัลย์ และ ศราธรณ์ หมั่นปรุ. (2567). การพัฒนาสื่อเทคโนโลยีดิจิทัล AR และ VR สามภาษา (ไทย-อังกฤษ-จีน) เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์อย่างยั่งยืน (อุทยานนกน้ำนครสวรรค์) ในเขตพื้นที่ชุ่มน้ำบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม, 14(2), 240-255.

สมบัติ นามบุรี. (2562). ทฤษฎีการมีส่วนร่วมในงานรัฐประศาสนศาสตร์. วารสารวิจยวิชาการ, 2(1), 183-197.

Anand, K., Arya, V., Suresh, S., & Sharma, A. (2023). Quality Dimensions of Augmented Reality-based Mobile Apps for Smart-Tourism and its Impact on Customer Satisfaction & Reuse Intention. Tourism Planning & Development, 20(2), 236-259.

Bretos, M., Ibáñez-Sánchez, S., & Orús, C. (2024). Applying virtual reality and augmented reality to the tourism experience: a comparative literature review. Spanish Journal of Marketing - ESIC, 28(3), 287-309.

Bulchand-Gidumal, J., Secin, E., O’Connor, P., & Buhalis, D. (2024). Artificial intelligence’s impact on hospitality and tourism marketing: exploring key themes and addressing challenges. Current Issues in Tourism, 27(14), 2345-2362.

Cohen, J., & Uphoff, N. (1980). Participation's place in rural development: Seeking clarity through specificity. World Development, 8(3), 213-235.

Nuanmeesri, S. (2022). Development of community tourism enhancement in emerging cities using gamification and adaptive tourism recommendation. Journal of King Saud University - Computer and Information Sciences, 34(10), 8549-8563.

Preko, A., Amoako, G., Dzogbenuku, R., & Kosiba, J. (2023). Digital tourism experience for tourist site revisit: an empirical view from Ghana. Journal of Hospitality and Tourism Insights, 6(2), 779-796.

Sambajee, P., Ndiuini, A., Masila, P., Kieti, D., Baum, T., Nthiga, R., Ng'oriarita, J., & Kiage, E. (2022). Undertaking research among marginalised tourism communities in Kenya: an important methodological lesson. In I. Booyens, & P. Brouder. (eds.). Handbook of Innovation for Sustainable Tourism (pp. 310-329). Cheltenham: Edward Elgar Publishing.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-15

How to Cite

วรรณวิจัตร ย., ชาญชัยชิณวรฒ์ พ., ก้วสะเทือน ก., & วสยางกูร ว. (2024). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาสื่อเสมือนจริงแบบปฏิสัมพันธ์ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตำบลปากน้ำประแส จังหวัดระยอง. สหวิทยาการและความยั่งยืนปริทรรศน์ไทย, 14(1), บทความที่ 10. https://doi.org/10.14456/tisr.2025.10