รูปแบบการส่งเสริมการใช้เขม่าดำทดแทนจากขยะยางล้อ ในอุตสาหกรรมยางโดยใช้ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน
DOI:
https://doi.org/10.14456/tisr.2025.5คำสำคัญ:
รูปแบบการส่งเสริม, การใช้เขม่าดำ, ขยะยางล้อในอุตสาหกรรมยาง, ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้เขม่าดำทดแทนจากขยะยางล้อ (RCB) พัฒนารูปแบบการส่งเสริมการใช้ และวิเคราะห์ความเหมาะสมของรูปแบบดังกล่าว การวิจัยแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ขั้นแรกใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่าส่วนใหญ่มีนโยบายใช้วัตถุดิบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การใช้ RCB มีประโยชน์ในการลดต้นทุนและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม แต่ยังมีข้อจำกัดด้านคุณภาพเมื่อเทียบกับเขม่าดำดั้งเดิม ขั้นที่สองใช้วิจัยเชิงปริมาณ พบว่าปัจจัยด้านการจัดการขยะและระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนมีอิทธิพลสำคัญต่อการส่งเสริมการใช้ RCB จึงนำมาพัฒนา Business Model Canvas ขั้นสุดท้ายประเมินความเหมาะสมโดยการสำรวจ ผลปรากฏว่าทุกองค์ประกอบได้รับการประเมินในระดับสูงมาก โดยเฉพาะด้านการนำเสนอคุณค่า การสร้างรายได้ ทรัพยากรหลัก กิจกรรมหลัก และพันธมิตรหลัก ผลการวิจัยสรุปได้ว่า RCB มีศักยภาพสูงในการส่งเสริมระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนและการพัฒนาอย่างยั่งยืนในอุตสาหกรรมยาง จากผลการวิจัยนี้ผู้วิจัยได้นำเสนอ SHIFT Model เป็นกรอบแนวคิดในการส่งเสริมการใช้ RCB ประกอบด้วย ผสานพลัง, ปรับให้สอดคล้อง, สร้างนวัตกรรม, ส่งเสริม และเปลี่ยนแปลง
References
ชัยวัฒน์ สาวเจริญสุข. (2565). แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2565-2567: อุตสาหกรรมยางพารา. สืบค้นจาก www.krungsri.com/th/research/industry/industry-outlook/agriculture/rubber/io/rubber-2022.
สหธร เพชรวิโรจน์ชัย. (2564). 5 หลักการระบบลีน (LEAN) วิธีการใช้งานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพองค์กร. สืบค้นจาก https://th.hrnote.asia/orgdevelopment/lean-management-210621/.
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. (2561). การจัดการขยะยางล้อ. กรุงเทพฯ: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม.
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. (2562). การนําเขม่าดํากลับมาใช้ใหม่. สืบค้นจาก https://rubber.oie.go.th/box/ELib_Document/6965/1.rCB-เขม่าดำ.pdf.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13. สืบค้นจาก www.nesdc.go.th/main.php?filename=develop_issue.
สุทิตย์ อาภากโร. (2561). รายการโมเดลการวิจัยและการพัฒนาสังคม (List Model for Research and Social Development). พระนครศรีอยุธยา: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์.
ASTM International. (2019). Standard Terminology Relating to Recovered Carbon Black (rCB). Retrieved from www.astm.org/d8178-18.html.
Bridgestone Americas. (2021). Bridgestone and Michelin to Discuss Role of Recovered Carbon Black in Creating More Sustainable Mobility Ecosystem. Tennessee: Bridgestone Americas Press Center.
Dwivedi, C., Manjare, S., & Rajan, S. (2020). Recycling of waste tire by pyrolysis to recover carbon black: Alternative & environment-friendly reinforcing filler for natural rubber compounds. Composites Part B: Engineering, 200, 108346.
European Commission. (2016). Carbon Footprinting of Tyres: Final Report. Retrieved from https://ec.europa.eu/jrc/en/publication/carbon-footprinting-tyres-final-report.
Grand View Research. (2019). Carbon Black Market Size, Share & Trends Analysis Report by Application (Tire, Non-tire Rubber, Inks & Coatings, Plastic), By Region (North America, Europe, APAC, CSA, MEA), And Segment Forecasts, 2020-2027. Retrieved from www.grandviewresearch.com/industry-analysis/recovered-carbon-black-market.
Lajhar, Z., Mihalyi, I., Nadasan, M., Mihalyi, A., & Czako, Z. (2019). Characterization of Recovered Carbon Black from Waste Tires and its Use as a Filler in the Rubber Industry. Journal of Polymers and the Environment, 27(11), 2293-2302.
Ngoc Huy, D. (2019). Applications and Advantages of Rcarbon Black; A Business Model in Developing Countries. Scholar Journal of Applied Sciences and Research, 2(8), 26-30.
Ramesh, C., Narendrakumar, G., & Kamaraj, R. (2019). Life Cycle Assessment of Carbon Black from Tyre Pyrolysis. Journal of Cleaner Production, 229, 783-791.
ReportLinker. (2021). Carbon Black Market-Growth, Trends, COVID-19 Impact, and Forecasts (2021-2026). Retrieved from https://finance.yahoo.com/news/carbon-black-market-growth-trends-100000704.html.
Urrego-Yepes, W., Cardona-Uribe, N., Vargas-Isaza, C., & Martínez, J. (2021). Incorporating the recovered carbon black produced in an industrial-scale waste tire pyrolysis plant into a natural rubber formulation. Journal of Environmental Management, 287, 112292.
Xu, J., Yu, J., Xu, J., Sun, C., He, W., Huang, J., & Li, G. (2020). High-value utilization of waste tires: A review with focus on modified carbon black from pyrolysis. Science of the Total Environment, 742, 140235.
Yu, C., Lin, Y., Chen, C., Wu, J., & Chu, P. (2017). A circular economy solution for rubber waste: Development of a sustainable rubber cycle. Journal of Cleaner Production, 150, 189-198.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 Authors
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.