พัฒนารูปแบบการเตรียมความพร้อมก่อนการเกษียณด้านเศรษฐกิจ ของบุคลากรและผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรม: กรณีศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร
DOI:
https://doi.org/10.14456/tisr.2025.6คำสำคัญ:
พัฒนารูปแบบ, การเตรียมความพร้อมเกษียณอายุ, โรงงานอุตสาหกรรมบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหา พัฒนารูปแบบ และศึกษาความเหมาะสมของการเตรียมความพร้อมก่อนการเกษียณด้านเศรษฐกิจ ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพและปริมาณ และได้พัฒนารูปแบบ BMC ซึ่งได้รับการประเมินความเหมาะสมในระดับมาก โดยเฉพาะในด้านการนำเสนอคุณค่า การสร้างรายได้ และทรัพยากรสำคัญ อย่างไรก็ตาม ยังมีพื้นที่สำหรับการปรับปรุงในด้านการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อการเตรียมความพร้อมมากที่สุดคือปัจจัยทางเศรษฐกิจ รองลงมาคือเพศและความพึงพอใจในการทำงาน นอกจากนี้ ปัจจัยด้านสุขภาพและระดับการศึกษาก็มีผลเชิงบวกต่อการเตรียมความพร้อม ผลการวิจัยชี้ให้เห็นถึงความจำเป็นในการพัฒนานโยบายและแผนการเตรียมความพร้อมก่อนการเกษียณที่ครอบคลุมและเป็นระบบ โดยเน้นการให้ความรู้ด้านการวางแผนการเงิน การสร้างความตระหนัก และการสนับสนุนจากทั้งองค์กรและภาครัฐ ผู้วิจัยได้นำเสนอโมเดล IFACE ซึ่งเป็นกรอบแนวคิดแบบบูรณาการ ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ การบูรณาการ การวางแผนทางการเงิน การสร้างความตระหนัก ความร่วมมือ และการศึกษา
References
กรมโรงงานอุตสาหกรรม. (2566). สถิติโรงงานอุตสาหกรรม. สืบค้นจาก www.diw.go.th/webdiw/static-fac/.
ณัฏฐพัชร กุลบุตร. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุของคนงานในระบบช่วงวัยใกล้เกษียณ: การศึกษาภาดตัดขวาง. วิทยานิพนธ์ สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธีรดา ยังสันเทียะ. (2561). การศึกษาพฤติกรรม และการรับรู้ที่มีผลต่อการเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุของพนักงานบริษัทเอกชน ในเขตนิคมอุตสาหกรรมบางปู จังหวัดสมุทรปราการ. การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ปัทมา รูปสุวรรณกุล. (2562). การจัดการทรัพยากรมนุษย์กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานในส่วนอุตสาหกรรมโรจนะจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธนบุรี, 13(1), 41-54.
พัชรี สุขโชค และ วิไลลักษณ์ อยู่สำราญ. (2564). การเตรียมความพร้อมวางแผนชีวิตเพื่อการเกษียณของพนักงาน บริษัทเอกชนกลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย. วารสารสังคมภิวัฒน์, 12(2), 16-31.
เพ็ญประภา เบญจวรรณ. (2558). การเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุ. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2(1), 82-92.
ภาวิน ชินะโชติ, ทองฟู ศิริวงศ์ และ ภาณุ ชินะโชติ. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อความสุขในการทำงานของพนักงานก่อนวัยเกษียณอายุ ในอุตสาหกรรม จังหวัดนนทบุรี. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 12(2), 319-334.
มธุริน วรศักดิ์. (2550). ปัจจัยทางชีวสังคม ทัศนคติต่อการเกษียณอายุและบุคลิกภาพกับการเตรียมตัวก่อนเกษียณอายุทำงาน ศึกษาเฉพาะกรณีพนักงานสายปฏิบัติการธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) สำนักงานใหญ่. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
วีระ สุเมธาพันธ์. (2525). ความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่และคณาจารย์ สังกัดกรมสามัญศึกษา ในเขตการศึกษา 6 เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2552). บำเหน็จบำนาญ. นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.
สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. (2562). สถานการณ์ นโยบาย มาตรการและกลไกเพื่อนโยบายสาธารณะรองรับสังคมสูงวัยของประเทศ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2566). การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร ทั่วราชอาณาจักร ไตรมาสที่ 1: มกราคม-มีนาคม 2566. สืบค้นจาก www.nso.go.th/nsoweb/storage/survey_detail/2023/20230627133332_61156.pdf.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2566). การประเมินผลกระทบและความยั่งยืน ของการบริโภคของผู้สูงอายุ ภายใต้ระบบบำนาญของประเทศไทย. สืบค้นจาก www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=14368&filename=PageSocial.
สุทิตย์ อาภากโร. (2561). รายการโมเดลการวิจัยและการพัฒนาสังคม (List Model for Research and Social Development). พระนครศรีอยุธยา: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์.
เอธยา ชนะภัย และ สุธาวัลย์ พฤกษ์อำไพ. (2565). ปัจจัยที่มีผลต่อการวางแผนการเงินส่วนบุคคลเพื่อการเกษียณอายุของประชาชนเจเนอเรชั่นวาย. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา, 11(2), 199-208.
Luborsky, M., & LeBlanc, I. (2003). Cross-cultural perspectives on the concept of retirement: An analytic redefinition. Journal of Cross-Cultural Gerontology, 18(4), 251-271.
Renton, L. (2020). The Transition to Retirement: A Narrative Inquiry. Doctoral Thesis, Queen Margaret University.
United Nations. (2015). World Population Ageing 2015. Retrieved from www.un.org/en/development/desa/population/publications/pdf/ageing/WPA2015_Report.pdf.
Wang, M., & Shultz, K. (2010) Employee Retirement: A Review and Recommendations for Future Investigation. Journal of Management, 36(1), 172-206.
Ware, J., & Grantham, C. (2003). The future of work: Changing patterns of workforce management and their impact on the workplace. Journal of Facilities Management, 2(2), 142-159.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 Authors
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.