ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการธุรกิจนำเข้า และส่งออกสินค้าระหว่างประเทศ ในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล
DOI:
https://doi.org/10.14456/tisr.2024.42คำสำคัญ:
ความสำเร็จ, ผู้ประกอบการ, ธุรกิจนำเข้าและส่งออกสินค้าระหว่างประเทศ, ยุคเศรษฐกิจดิจิทัลบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการธุรกิจนำเข้าและส่งออกสินค้าระหว่างประเทศในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยเหล่านั้นได้แก่ 1) คุณลักษณะผู้ประกอบการ ซึ่งประกอบด้วย การยอมรับความเสี่ยง, ความเป็นอิสระในการบริหารงาน และการทำงานเชิงรุก 2) วัฒนธรรมองค์การ ซึ่งประกอบด้วย วัฒนธรรมแบบปรับตัว, วัฒนธรรมแบบเครือญาติ และวัฒนธรรมแบบมุ่งผลสำเร็จ 3) นวัตกรรมองค์การ ซึ่งประกอบด้วย นวัตกรรมผลิตภัณฑ์, นวัตกรรมกระบวนการ และนวัตกรรมบริการ 4) การยอมรับเทคโนโลยี ซึ่งประกอบด้วย ความคาดหวังในประสิทธิภาพ, ความคาดหวังในความสะดวก, อิทธิพลทางสังคม, สภาพสิ่งอำนวยความสะดวก, ความตั้งใจในการใช้งาน และพฤติกรรมการใช้ และ5) สมรรถนะเชิงนวัตกรรม ซึ่งประกอบด้วย ความรู้, ทักษะ, ทัศนคติ และแรงจูงใจ ทั้งนี้ องค์ประกอบของความสำเร็จของผู้ประกอบการ นั้นประกอบด้วยผลการดำเนินงานด้านการเงิน และผลการดำเนินงานที่ไม่ใช่ด้านการเงิน
References
กรกต ขาวสะอาด และ นภาเดช บุญเชิดชู. (2562). สมรรถนะเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา. บทความนำเสนอในงานประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 11 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, 11-12 กรกฎาคม 2562.
กรมศุลกากร. (2564). ศุลกากร 4.0 เพื่อการฟื้นตัวและความยั่งยืน. กรุงเทพฯ: กรมศุลกากร.
กฤตภัค ไม้เรียง. (2563). รูปแบบนวัตกรรมบริหารธุรกิจวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(2), 255-268.
ขวัญชัย ช้างเกิด. (2564). การจัดการผลิตในธุรกิจระดับโลก. สืบค้นจาก https://management.bsru.ac.th/การจัดการผลิตในธุรกิจร/.
ชญาพัฒน์ เลิศอำนาจกิจเสรี. (2565). เศรษฐกิจดิจิทัล: การเกิดและพัฒนาการ. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร., 10(5), 2273-2283.
ชัยวุฒิ เทโพธิ์ และ พงษ์เสถียร เหลืองอลงกต. (2563). แนวทางการส่งเสริมสมรรถนะที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 11(1), 135-150.
ณัฐพล เพิ่มพงศาเจริญ และ อัญณิฐา ดิษฐานนท์. (2563). การพัฒนาโมเดลการยอมรับเทคโนโลยีดิจิทัลในภาคอุตสาหกรรมการผลิต. National & International Conference, 11(1), 1209-1221.
นารินทิพย์ ท่องสายชล. (2563). Digital Economy เศรษฐกิจรูปแบบใหม่ที่จะขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย. สืบค้นจาก www.setinvestnow.com/th/knowledge/article/121-digital-economy-new-way-to-drive-thai-economics.
บุษกร คำโฮม. (2562). บทบาทของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงในการส่งเสริมนวัตกรรมองค์กร. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 16(3), 1-6.
ประกอบ คงยะมาศ, เกรียงศักดิ์ แก้วนาค และ พิชัยรัฐ หมื่นด้วง. (2562). วัฒนธรรมองค์การและการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการดำเนินงาน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดหนองบัวลำภู. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 9(3), 16-31.
พิชชาภา ตันเทียว และ อรพรรณ คงมาลัย. (2565). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นองค์กรนวัตกรรม บริบท การประปานครหลวง. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต, 18(1), 141-158.
พูนเพิ่ม เสรีวิชยสวัสดิ์ และ เกิดศิริ เจริญวิศาล. (2562). การยอมรับและการใช้เทคโนโลยี: บทบาทสำคัญต่อพฤติกรรมเชิงสร้างสรรค์ของบุคลากร ในอุตสาหกรรมไมซ์ของประเทศไทย. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 13(3), 505-519.
รชยา อินทนนท์. (2563). ธุรกิจระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ: บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน).
รวีพรรณ อุตรินทร์, ภณิตา สุนทรไชย และ ไอลัดดา โอ่งกลาง. (2565). อิทธิพลของนวัตกรรมที่ส่งผลต่อความได้เปรียบในการแข่งขันของธุรกิจสถานดูแลผู้สูงอายุในประเทศไทย. วารสาร มจร. สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 11(2), 27-41.
รังสรรค์ ประเสริฐศรี. (2558). ภาวะผู้นำ. กรุงเทพฯ: ธนธัชการพิมพ์.
วิเชียร จันทะเนตร, อุษณี มงคลพิทักษ์สุข และ อริชัย เกตุจันทร์. (2564). ทุนทางสังคมและวัฒนธรรมองค์การกับประสิทธิผลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 15(2), 169-181.
ศิวะนันท์ ศิวพิทักษ์. (2563). ทฤษฎีด้านนวัตกรรม. วารสารเซนต์จอห์น 23(32), 251-265.
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ. (2562). 4 ยุทธศาสตร์ผลักดัน ‘ไทย’ ให้เป็นประเทศแห่งนวัตกรรม. สืบค้นจาก www.nia.or.th/NIA4.
สุทิพย์ ประทุม และ สรัญณี อุเส็นยาง. (2565). การยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศในยุควิถีชีวิตใหม่. วารสารลวะศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี, 6(1), 1-18.
สุรยุทธ บุญมาทัต. (2562). วัฒนธรรมองค์การที่เหมาะสมกับยุคไทยแลนด์ 4.0: ส่วนประกอบวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการปรับปรุงสมรรถนะขององค์การ. วารสารเศรษฐศาสตร์และกลยุทธ์การจัดการ, 6(2), 159-175.
อนุพงษ์ ชุมแวงวาปี. (2560). การพัฒนารูปแบบองค์การแห่งนวัตกรรมของโรงเรียนมัธยมศึกษาสัง กัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ดุษฎีนิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.
อรพรรณ คงมาลัย และ อัญณิฐา ดิษฐานนท์. (2561). เทคนิควิจัยด้านการบริหารเทคโนโลยีและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อรพรรณ คงมาลัย. (2562). บทบาทของนวัตกรรมองค์กร สมรรถนะเชิงนวัตกรรม และการถ่ายโอนความรู้ต่อนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล. วารสารการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 8(1), 34-42.
Allen, K. (2006). Launching New Ventures: An entrepreneurial Approaching. 4th ed. Massachusetts: Houghton Miffin.
Alves, M., Galina, S., & Dobelin, S. (2018). Literature on Organizational Innovation: Past and Future. Innovation & Management Review, 15(1), 2-19.
Bolivar-Ramos, M. (2019). New ventures' collaborative linkages and innovation performance: Exploring the role of distance. Journal of Management and Organization, 25, 26-41.
Byrd, T., & Turner, D. (2001). An exploratory examination of the relationship between flexible IT infrastructure and competitive advantage. Information & Management, 39(1), 41-52.
Cameron, K., & Quinn, R. (2011). Diagnosing and Changing Organizational Culture: Based on the Competing Values Framework. 3rd ed. California: Jossey-Bass.
Chandu, R., & Chandu, S. (2020). Understanding and Extrapolation of Disruption for Engineering Education-Principles and Problems. Procedia Computer Science, 172, 1066-1076.
Chatzoglou, P., & Chatzoudes, D. (2018). The role of innovation in building competitive advantages: An empirical investigation. European Journal of Innovation Management, 21(1), 44-69.
Coll-Serrano, V., Pardo-Garcia, C., & Perez, P. (2018). Teaching-learning methods and their effect on professional development and the development of graduates’ competencies. Culture and Education (pp. 556-583). London: Routledge.
Covin, J., Green, K., & Slevin, D. (2006). Strategic Process Effects on the Entrepreneurial Orientation-Sales Growth Rate Relationship. Entrepreneurship Theory and Practice, 30(1), 57-81.
Daft, R. (2008). The Leadership Experience. 4th ed. Minnesota: Thomson Corporation.
Denison, D. (1990). Corporate Culture and Organizational Effectiveness. New York: John Wiley & Sons.
Denison, D., & Mishra, A. (1995). Toward a Theory of Organizational Culture and Effectiveness. Organization Science, 6(2), 204-223.
Dess, G., Lumpkin, G., & Taylor, M. (2005). Strategic Management: Creating Competitive Advantages. 2nd ed. New York: McGraw-Hill/Irwin.
Drucker, P. (2014). Innovation and Entrepreneurship. London: Routledge.
Gunday, G., Ulusoy, G., Kilic, K., & Alpkan, L. (2011). Effects of innovation types on firm performance. International Journal of Production Economics, 133(2), 662-676.
Hodgetts, R., & Kuratko, D. (2000). Effective Small Business Management. 7th ed. New Jersey: Wiley.
Kotler, P., Kotler, K., & Chernev, A. (2022). Marketing Management. 16th ed. New Jersey: Pearson Education.
Lam, L., Nguyen, P., Le, N., & Tran, K. (2021). The Relation among Organizational Culture, Knowledge Management, and Innovation Capability: Its Implication for Open Innovation. Journal of Open Innovation: Technology, Market, and Complexity, 7(1), 1-16.
Lane, N. (1999). Advancing the Digital Economy into the 21st Century. Information Systems Frontiers, 1, 317-320.
Leyva-de la Hiz, D., & Bolívar-Ramos, M. (2022). The inverted U relationship between green innovative activities and firms’ market-based performance: The impact of firm age. Technovation, 110, 102372.
Mab Hom, วิชากร เฮงษฎีกุล และ มณีกัญญา นากามัทสึ. (2565). วัฒนธรรมองค์การที่ส่งผลต่อความสําเร็จในการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์, 6(2), 48-62.
Sato, H., & Toju, H. (2019). Timing of evolutionary innovation: scenarios of evolutionary diversification in a species-rich fungal clade, Boletales. New Phytologist, 222(4), 1924-1935.
Schein, E., & Schein, P. (2016). Organizational Culture and Leadership. 5th ed. California: Jossey-Bass.
Sharif, S., & Naghavi, N. (2021). Online financial trading among young adults: Integrating the theory of planned behavior, technology acceptance model, and theory of flow. International Journal of Human-Computer Interaction, 37(10), 949-962.
Tapscott, D. (1996). The Digital Economy: Promise and Peril in the Age of Networked Intelligence. New York: McGraw-Hill.
Tidd, J., & Bessant, J. (2021). Managing Innovation Integrating Technological, Market and Organizational Change. 7th ed. New Jersey: Wiley.
Venkatesh, V., Morris, M., Davis, G., & Davis, F. (2003). User Acceptance of Information Technology: Toward a Unified View. MIS Quarterly, 27(3), 425-478.
Venkatesh, V., Thong, J., & Xu, X. (2012). Consumer Acceptance and Use of Information Technology: Extending the Unified Theory of Acceptance and Use of Technology. MIS Quarterly, 36(1), 157-178.
Vila, L., Pérez, P., & Coll-Serrano, V. (2014). Innovation at the workplace: Do professional competencies matter?. Journal of Business Research, 67(5), 752-757.
Waheed, A., Miao, X., Waheed, S., Ahmad, N., & Majeed, A. (2019). How New HRM Practices, Organizational Innovation, and Innovative Climate Affect the Innovation Performance in the IT Industry: A Moderated-Mediation Analysis. Sustainability, 11(3), 621.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 Authors
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.