การพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาบนพื้นที่สูงที่สอดคล้อง กับภูมิวัฒนธรรมในโรงเรียนพื้นที่สูง จังหวัดเชียงใหม่
DOI:
https://doi.org/10.14456/tisr.2024.47คำสำคัญ:
การจัดการศึกษา, พื้นที่สูง, ภูมิวัฒนธรรม, ชุมชน, คุณภาพการศึกษาบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาการจัดการศึกษาในโรงเรียนพื้นที่สูงที่สอดคล้องกับภูมิวัฒนธรรมในโรงเรียนพื้นที่สูง จังหวัดเชียงใหม่ วิเคราะห์วิธีการพัฒนาที่สอดคล้องกับภูมิวัฒนธรรมของชุมชนในโรงเรียนพื้นที่สูงจังหวัดเชียงใหม่ และเสนอแนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษาที่เหมาะสมกับพื้นที่สูงและวัฒนธรรมท้องถิ่นในโรงเรียนพื้นที่สูง จังหวัดเชียงใหม่ ผลการวิจัยพบว่าการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพช่วยเพิ่มคุณภาพการเรียนรู้ การสนับสนุนทางเศรษฐกิจช่วยเพิ่มการเข้าถึงทรัพยากรการศึกษา การพัฒนาคุณภาพครูช่วยปรับปรุงการสอน การมีส่วนร่วมของชุมชนช่วยเสริมสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่ดี และหลักสูตรที่สอดคล้องกับภูมิวัฒนธรรมช่วยเพิ่มการมีส่วนร่วมของนักเรียน ข้อเสนอแนะจากการวิจัยนี้รวมถึงการพัฒนาทักษะการบริหารจัดการของผู้บริหารโรงเรียน การสนับสนุนเศรษฐกิจของครอบครัวและชุมชน การพัฒนาคุณภาพครู การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างโรงเรียนและชุมชน และการปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับภูมิวัฒนธรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการศึกษาในพื้นที่สูง
References
กุลวดี สวัสดิ์ธรรมกิจ, เกวรินทร์ นาคนิวิษฐ, ชาคริต มาฝางนอก, พันไมล์ สุขสําราญ, วชิรารัชต์ แก้วมณีชัย, สุพัทธ แสนแจ่มใส และ ธีระชน พลโยธา. (2564). การค้นหาความหมายในชีวิตของนิสิตนักศึกษา จากประสบการณ์การมีส่วนร่วมทางการเมืองในช่วงปี พ.ศ.2563-2564. วารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 43(2), 17-35.
จิรภิญญา สิงห์คํา และ ในตะวัน กําหอม. (2565). วัฒนธรรมชุมชน: ความยั่งยืน การอนุรักษ์ เพื่อการบูรณาการการสอนหน้าที่พลเมืองและศีลธรรม หน่วยศิลปวัฒนธรรมไทย วิทยาลัยเทคนิคแพร่. วารสารวิชาการรัตนบุศย์, 4(3), 89-104.
ชุฏิภัคศ์ เขมวิมุตติวงศ์. (2560). การวิจัยเชิงปฏิบัติการ: การพัฒนานักศึกษาออกแบบแผนกิจกรรมสะเต็มศึกษา โดยการเรียนรู้เชิงรุก. พิฆเนศวร์สาร, 13(2), 109-127.
ญาณิศา แสงแก้ว. (2567). การบริหารสถานศึกษาในยุคศตวรรษที่ 21 โดยใช้ YANISA MODEL. วารสารนวัตกรรมการศึกษาในอนาคต, 3(1), 18-25.
ณัฐกาญจน์ ญาณแขก และ ธดา สิทธิ์ธาดา. (2565). รูปแบบการบริหารจัดการศึกษาโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีประสิทธิภาพ. Graduate School Conference, 4(1), 1040-1047.
เทอดพิทักษ์ จันทร์โลหิต, เฉลิมชัย ปัญญาดี และ สมคิด แก้วทิพย์. (2565). แนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับภูมิวัฒนธรรม: กรณีศึกษาโรงเรียนพื้นที่สูง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 10(2), 817-829.
บุญชู กันเกตุ, ชัยลักษณ์ รักษา และ จารุวรรณ พลอยดวงรัตน์. (2564). TRIAM Model: การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคเหนือ. วารสารสมาคมพัฒนาวิชาชีพการบริหารการศึกษาแห่งประเทศไทย, 3(2), 41-50.
ประภา จันทร์เพ็ง. (2566). ความร่วมมือของชุมชนในการพัฒนาการศึกษา: ปัญหาและโอกาส. วารสารการบริหารการศึกษา, 29(1), 98-112.
รสริน พันธุ, ชุฏิภัคศ์ เขมวิมุตติวงศ์, อโนดาษ์ รัชเวทย์ และ ภาณุพัฒน์ ชัยวร. (2562). รูปแบบการพัฒนาผู้นำครูสะเต็มศึกษาสำหรับสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธนบุรี, 13(3), 133-144.
วิสาขา ภู่จินดา และ นิชนัญ ปฏิทัศน์. (2566). หลักสูตรพัฒนาศักยภาพการเป็นวิทยากรด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยภูมิปัญญาท้องถิ่นสาหรับผู้สูงอายุ. วารสารการบริหารท้องถิ่น, 16(4), 543-558.
ศิวภรณ์ สองแสน และ นวลนภา จุลสุทธิ. (2567). การบริหารจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืนของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 52(2), EDUCU5202003.
สมชาย ทองเพชร. (2566). การพัฒนาทรัพยากรและเทคโนโลยีในการศึกษาในพื้นที่สูง. วารสารการบริหารการศึกษา, 30(2), 75-89.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3. (2565). แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566. เชียงใหม่: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2563). รายงานผลการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานประจำปีงบประมาณ 2563. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2565). นโยบายและจุดเน้นของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
Banks, J. (1993). Multicultural Education: Historical Development, Dimensions, and Practice. Review of Research in Education, 19, 3-49.
Banks, J., & Banks, C. (eds.). (2019). Multicultural Education: Issues and Perspectives. New Jersey: John Wiley & Sons.
Bryk, A., Sebring, P., Allensworth, E., Luppescu, S., & Easton, J. (2009). Organizing Schools for Improvement: Lessons from Chicago. Illinois: University of Chicago Press.
Darling-Hammond, L. (2000). Teacher Quality and Student Achievement. Education Policy Analysis Archives, 8(1), 1-44.
Epstein, J. (2001). School, Family, and Community Partnerships: Preparing Educators and Improving Schools. Colorado: Westview Press.
Epstein, J. (2018). School, Family, and Community Partnerships: Your Handbook for Action. 3rd ed. California: Corwin Press.
Epstein, J. (2022). Building Culturally Responsive Partnerships Among Schools, Families, and Communities. New York: Teachers College Press.
Epstein, J., & Sheldon, S. (2019). The importance of evaluating programs of school, family and community partnerships. Aula Abierta, 48(1), 31-42.
Epstein, J., Sheldon, S., & Zhao, Z. (2024). How Do Connections with the Community Strengthen Programs of School, Family, and Community Partnerships?. Maryland: Johns Hopkins University.
Fullan, M. (2007). The New Meaning of Educational Change. New York: Routledge.
Fullan, M. (2020a). System Change in Education. American Journal of Education, 126(4), 653-663.
Fullan, M. (2020b). Leading in a Culture of Change. New Jersey: Jossey-Bass.
Gay, G. (2010). Culturally Responsive Teaching: Theory, Research, and Practice. 2nd ed. New York: Teachers College Press.
Ghimire, T. (2020). Multicultural Education: Components and Necessities. KMC Research Journal, 4(4), 171-190.
Guskey, T. (2002). Professional Development and Teacher Change. Teachers and Teaching: Theory and Practice, 8, 381-391.
Hanushek, E., & Woessmann, L. (2011). The Economics of International Differences in Educational Achievement. In E. Hanushek, S. Machin, & L. Woessmann. (eds.). Handbook of the Economics of Education (pp. 89-200). Amsterdam: Elsevier.
Leithwood, K., Harris, A., & Hopkins, D. (2008). Seven Strong Claims About Successful School Leadership. School Leadership & Management, 28(1), 27-42.
Sheldon, S., & Epstein, J. (2005). Involvement Counts: Family and Community Partnerships and Mathematics Achievement. Journal of Educational Research, 98, 196-207.
Smith, R. (2019). Community Involvement in Education: Challenges and Opportunities. Community Education Journal, 40(3), 150-165.
Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. 3rd ed. New York: Harper and Row.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 Authors
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.