ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์กับพฤติกรรมการเรียนในเยาวชน: การวิเคราะห์อภิมาน

ผู้แต่ง

  • วรนุช สิปิยารักษ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • ดุจเดือน พันธุมนาวิน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • ดวงเดือน พันธุมนาวิน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

DOI:

https://doi.org/10.14456/tisr.2024.40

คำสำคัญ:

แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์, พฤติกรรมการเรียน, การสังเคราะห์งานวิจัย, การวิเคราะห์อภิมาน

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์กับพฤติกรรมการเรียนในเยาวชน โดยใช้วิธีการวิเคราะห์อภิมานเพื่อดูค่าขนาดอิทธิพลระหว่างตัวแปร ประชากรที่ใช้ในงานวิจัย ประกอบด้วย เอกสารงานวิจัย งานวิทยานิพนธ์ บทความวิจัย ซึ่งตัวแปรอิสระ ได้แก่ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ตัวแปรตาม ได้แก่ พฤติกรรมการเรียนในเยาวชน กลุ่มตัวอย่างมีจำนวนทั้งสิ้น 15 ค่า ผลการศึกษาพบว่า แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมการเรียน โดยมีค่าขนาดอิทธิพลระหว่างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์กับพฤติกรรมการเรียน มากกว่า .50 ในกลุ่มรวม (d = .947) และ ค่าขนาดอิทธิพลระหว่างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์กับพฤติกรรมการเรียน มากกว่า .50 โดยผลนี้ปรากฏในทุกกลุ่มย่อยที่เป็นตัวแปรปรับของงานวิจัย ได้แก่ เพศ ระดับการศึกษา การศึกษาบิดา และการศึกษามารดา ผลวิจัยดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของตัวแปรแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ที่ยังคงเป็นปัจจัยสำคัญของพฤติกรรมการเรียน นอกจากนี้ผลวิจัยบ่งชี้ถึงการศึกษาของบิดาและมารดาที่มีการศึกษาสูงส่งผลต่อพฤติกรรมการเรียนของบุตรที่ดีด้วย

References

กฤษณะโชติ บัวหล้า และ ดุจเดือน พันธุมนาวิน. (2561). ปัจจัยทางจิตลักษณะและสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมจดจ่อใส่ใจในการเรียนของนักเรียนระดับปริญญาตรีที่เป็นรุ่นแรกของครอบครัว. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, 10(2). 56-82.

กุสุมา เลาะเด. (2565). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษาที่เรียนในกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 12(2), 61-74.

จำลอง นามูลตรี. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกศึกษาต่อของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ดวงเดือน พันธุมนาวิน และ ดุจเดือน พันธุมนาวิน. (2558). แนวทางการสร้างกิจกรรมการฝึกที่ใช้วิชาวิจัย ตอนที่ 1 แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์เชิงวิจัย (Need for achievement in research) ครั้งที่ 1 (เล่มที่ 1) ภายใต้โครงการวิจัยเรื่อง การวิเคราะห์และพัฒนาชุดฝึกอบรมจิตจริยธรรมการวิจัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้านการวิจัยแก่นักวิชาการไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ธนันต์ชัย พัฒนะสิงห์, เผื่อน กิตฺติโสภโณ, พิพิธปริยัติกิจ และ ลำพอง กมลกูล. (2561). โมเดลความสัมพันธ์ในครอบครัวที่ส่งผลต่อสุขภาวะทางปัญญาของวัยรุ่น. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร., 6(ฉบับพิเศษ), 406-417.

ธวัชชัย ตั้งอุทัยเรือง. (2559). เทคนิคการวิเคราะห์อภิมานด้วยโมเดลสมการเชิงโครงสร้าง Meta-Analytic Structural Equation Modeling Technique. วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 3(2), 57-79.

นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2552). รายงานการสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพการศึกษาไทย: การวิเคราะห์อภิมาน (Meta-analysis). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นิติบดี ศุขเจริญ และ วัยวุฑฒ์ อยู่ในศิล. (2557). การวิเคราะห์อภิมาน และการสังเคราะห์อภิมาน. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 8(3), 43-55.

ในตะวัน กําหอม, ศักดิ์ชัย นิรัญทวี, โกศล มีคุณ และ อัจฉรา วัฒนาณรงค์. (2567). ปัจจัยเชิงนิเวศวิทยาทางการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา. สหวิทยาการและความยั่งยืนปริทรรศน์ไทย, 13(2), 162-170.

เบญจพร ประณีตวตกุล และ ดุจเดือน พันธุมนาวิน. (2561). ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมป้องกันการรับและแพร่โรค ในสถานที่สาธารณะของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, 10(1), 83-102.

มณีนุช พรหมอารักษ์. (2561). การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุการปรับตัวด้านการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18. วิทยานิพนธ์ วทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.

เยาวภา แสนเขียว. (2557). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการกำกับตนเองในการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

รวิ วิสาขศาสตร์. (2560). ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมในโรงเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วาสนา จันทร์ขำ. (2558). ช่วงความเชื่อมั่นสำหรับขนาดอิทธิพลในการวิเคราะห์อภิมาน. วารสารวิชาการ พระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 25(2), 307-314.

ศุภรางค์ อินทุณห์, งามตา วนินทานนท์ และ จรัล อุ่นฐิติวัฒน์. (2553). ปัจจัยเชิงสาเหตุทางจิตสังคมและปัจจัยเชิงผลด้านการจัดการกับความเครียดของพฤติกรรมรักการอ่านในนักเรียนวัยรุ่น. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, 2(1), 1-17.

สวรรยา ทองแม้น และ นริสรา พึ่งโพธิ์สภ. (2562). ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการเรียนแบบสร้างความรู้ด้วยตนเองของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 33. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, 11(2), 58-77.

Cheewakoset, R., & Sakdapat, N. (2024). Financial skills, entrepreneurial qualities, and leadership qualities that influence the preparatory behaviors for business competition of undergraduate students in Thailand. International Journal of eBusiness and eGovernment Studies, 16(1), 203-222.

Cohen, J. (1988). Statistical Power Analysis for the Behavioral Sciences. 2nd ed. New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates, Publishers.

Cooper, H. (2010). Research synthesis and meta-analysis: A step-by-step approach. 4th ed. California: Sage Publications, Inc.

Glass, G. (1976). Primary, Secondary, and Meta-Analysis of Research. Educational Researcher, 5(10), 3-8.

Leedy, P., & Ormrod, J. (2015). Practical research: Planning and design. 11th ed. Massachusetts: Pearson.

Mayo, C., & LaFrance, M. (1977). Evaluating Research in Social Psychology: A Guide to the Consumer. California: Brooks/Cole.

McClelland, D., & Winter, D. (1971). Motivating Economic Achievement. New York: Free Press.

Midgley, C., Kaplan, A., & Middleton, M. (2001). Performance-approach goals: Good for what, for whom, under what circumstances, and at what cost?. Journal of Educational Psychology, 93(1), 77-86.

Page, M., McKenzie, J., Bossuyt, P., Boutron, I., Hoffmann, T., Mulrow, C., Shamseer, L., Tetzlaff, J., Akl, E., Brennan, S., Chou, R., Glanville, J., Grimshaw, J., Hróbjartsson, A., Lalu, M., Li, T., Loder, E., Mayo-Wilson, E., McDonald, S., McGuinness, L., Stewart, L., Thomas, J., Tricco, A., Welch, V., Whiting, P., & Moher, D. (2021). The PRISMA 2020 statement: an updated guideline for reporting systematic reviews. BMJ, 372, n71.

Sakdapat, N. (2024). Approaches for sustainable professional skill development for vocational education students in Thailand. F1000Research, 13, 401.

Wattanavit, P., & Sakdapat, N. (2024). Causal Models Related to the Development of Self-Directed Learning Behaviour Among Undergraduate Students in Thailand. Eurasian Journal of Educational Research, 110(110), 312-325.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-10-03

How to Cite

สิปิยารักษ์ ว., พันธุมนาวิน ด., & พันธุมนาวิน ด. (2024). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์กับพฤติกรรมการเรียนในเยาวชน: การวิเคราะห์อภิมาน. สหวิทยาการและความยั่งยืนปริทรรศน์ไทย, 13(2), 251–262. https://doi.org/10.14456/tisr.2024.40