อะไรคือสิ่งที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งอยากรู้เกี่ยวกับตัวผู้ที่จะเข้ามาบริหารเมืองหลวงและมีผลในการตัดสินใจของพวกเขา: บทเรียนจากประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • นวพร วงษ์สุวรรณ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยปทุมธานี
  • กิตติศักดิ์ เจิมสิทธิประเสริฐ มหาวิทยาลัยชินวัตร
  • วิทยาธร ท่อแก้ว สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  • กานต์ บุญศิริ สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

DOI:

https://doi.org/10.14456/tisr.2024.39

คำสำคัญ:

การเลือกตั้ง, ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง, พฤติกรรมการเลือกตั้ง, ผู้บริหารเมืองหลวง, การปกครองท้องถิ่น

บทคัดย่อ

อะไรคือสิ่งที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งอยากรู้เกี่ยวกับตัวผู้สมัครรับเลือกตั้ง รวมถึงใช้ในการตัดสินใจลงคะแนนเสียง ยังคงเป็นคำถามสำคัญในทางการสื่อสารการเมืองปัจจุบัน บทความวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อหาคำตอบของคำถามดังกล่าว โดยนำการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของประเทศไทย เมื่อปี 2565 มาเป็นกรณีศึกษา ผลการวิจัยพบว่า ผู้มีสิทธิเลือกตั้งให้ความสำคัญกับข้อมูลด้านปัจจัยทางการเมือง ได้แก่ นโยบายด้านต่างๆ อุดมการณ์ทางการเมือง จุดยืนต่อรัฐบาล และประสบการณ์ทางการเมือง ขณะที่ข้อมูลด้านภูมิหลังที่ได้รับความสนใจในระดับใกล้เคียงกัน ได้แก่ ประสบการณ์การทำงาน ความซื่อสัตย์สุจริต และความสำเร็จในชีวิต ส่วนเรื่องเงินหรือสิ่งตอบแทนที่จะให้ หรือชาติตระกูล ชีวิตสมรส-ครอบครัว รูปร่างหน้าตา เพศสภาพ และศาสนา เป็นข้อมูลที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งแทบจะมิได้ให้ความใส่ใจ 3 ปัยจัยแรกที่พวกเขาใช้ในการตัดสินใจลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง คือนโยบายในการทำงาน คุณสมบัติส่วนบุคคลของตัวผู้สมัคร และอุดมการณ์ทางการเมือง ส่วนความสัมพันธ์ส่วนตัว และเงินหรือผลตอบแทนที่ได้รับ เป็น 2 ปัจจัยสุดท้ายที่มีน้ำหนักน้อยมาก นอกจากนั้น เพศสภาพ ช่วงวัย ศาสนา รายได้ ความมั่งคั่งของครัวเรือน และอุดมการณ์ทางการเมือง ยังเป็นลักษณะทางประชากรศาสตร์ที่เป็นเงื่อนไขสำคัญซึ่งแสดงให้เห็นถึงแนวโน้มบางประการของการใช้ปัจจัยต่างๆ ในการตัดสินใจลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง อีกด้วย

References

กมลวรรณ ทับทิมทอง. (2565). การเคลื่อนไหวทางสังคมผ่านโซเชียลมีเดีย: ศึกษาผ่านเยาวชนปลดแอก. วารสารเอเชียตะวันออกและอาเซียนศึกษา, 22(1), 50-70.

กิตติศักดิ์ เจิมสิทธิประเสริฐ. (2550). การปฏิวัติสยาม: รากเหง้า/รากเน่า ประชาธิปไตยไทย. ร่วมพฤกษ์, 26(1), 165-189.

กิตติศักด์ เจิมสิทธิประเสริฐ. (2551). พรรคการเมืองไทย ผลิตผลวัฒนธรรมทางการเมืองไทย. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 34(2), 69-80.

กิตติศักดิ์ เจิมสิทธิประเสริฐ และ วรสิทธิ์ ภู่ทอง. (2561). อุดมการณ์ทางการเมืองและการให้ความสำคัญต่อคุณสมบัติของว่าที่แฟนของนักศึกษาหญิงไทย. วารสารการบริหารปกครอง, 7(1), 248-271.

จิรวัฒน์ ศิริพานิชย์, สัญญา เคณาภูมิ และ เสาวลักษณ์ โกศลกิตติอัมพร. (2561). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ทรงอิทธิพลต่อการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 5(1), 311-322.

ชัยพงษ์ สำเนียง. (2564). การเมืองดิจิทัล: การเปลี่ยนภูมิทัศน์ทางการเมืองของคนกลุ่มใหม่ในโลกเสมือน. วารสารพัฒนศาสตร์, 4(2), 1-35.

ณัฐกร วิทิตานนท์. (2565). ย้อนอ่าน คน Krung Thep Maha Nakhon เลือกผู้ว่าฯ กันอย่างไร?. สืบค้นจาก www.the101.world/krung-thep-maha-nakhon-governor-election.

ดารารัตน์ คำเป็ง, ฉัตรทิพย์ ชัยฉกรรจ์ และ ไชยันต์ รัชชกูล. (2562). การสื่อสารทางการเมืองในการเลือกตั้งสมาชิกผู้แทนราษฎร จังหวัดพะเยา พ.ศ.2562 ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560. วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 18(1), 108-128.

ถวิลวดี บุรีกุล. (2554). การเมืองเรื่องเลือกตั้งและปัจจัยสำคัญต่อการตัดสินใจเลือกพรรคการเมืองและผู้สมัคร: วิเคราะห์จากการเลือกตั้ง 3 ก.ค. 2554. วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 9(2), 5-28.

ธันยพร บัวทอง. (2562). เลือกตั้ง 2562: ซื้อเสียง ไม่ใช่เพียงใช้เงินฟาดก็ชนะ. สืบค้นจาก www.bbc.com/thai/thailand-47520169.

ธีระพงษ์ คงมณี และ วัลลภ พิริยวรรธนะ. (2565). การรับรู้ข่าวสารทางการเมืองต่อการตัดสินใจเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครของประชากรภายในกรมยุทธโยธาทหารบก. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 8(2), 307-318.

บีบีซี. (2565). ชัชชาติ สิทธิพันธุ์: ผู้ว่าฯ กทม. ผู้คว้าคะแนนเลือกตั้งสูงสุดในประวัติศาสตร์. สืบค้นจาก www.bbc.com/thai/61545581.

ประชาไท. (2550). บทวิเคราะห์: ซื้อสิทธิขายเสียง: ปัญหาหรือมายาภาพของสังคมไทย..?. สืบค้นจาก https://prachatai.com/journal/2007/11/14740.

พระครูวาปีธรรมวิโรจน์ (ประศาล นิวัฒ). (2563). บทบาทนักศึกษากับสถานการณ์ทางการเมืองไทย. วารสารวิชาการรัตนบุศย์, 2(2), 99-114.

ภัทรวดี อภิเด่นนภาลัย. (2562). การสื่อสารทางการเมือง ค่านิยม ผลประโยชน์ และระบอบการเมืองที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกของประชาชนให้นักการเมืองได้รับเลือกตั้ง พื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ เขต 2. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 7(5), 1352-1362.

รพีพร ธงทอง. (2564). การมีส่วนร่วมทางการเมืองสมัยใหม่ของเด็กและเยาวชน. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 16(1), 27-40.

ลลิตพรรณ นุกูลวัฒนวิชัย. (2560). การตลาดทางการเมือง: ศึกษาเปรียบเทียบกลยุทธ์การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งของพรรคประชาธิปัตย์และพรรคเพื่อไทยในการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2556. วารสารรัฐศาสตร์ปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 4(2), 122-144.

วรลักษณ์ พุ่มพวง และ สมเกียรติ วันทะนะ. (2556). บทบาทหัวคะแนนกับการเลือกตั้งในจังหวัดสมุทรสงคราม. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา, 2(2), 146-159.

วัลลภ รัฐฉัตรานนท์ และ นพพล อัคฮาด. (2555). สถานภาพทางสังคมกับพฤติกรรมการเลือกตั้งในการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ.2554: กรณีศึกษาจากผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่อาศัยอยู่ในเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา, 1(1), 33-40.

วิเชียร พรมแก้ว. (2565). ปัจจัยเงื่อนไขจูงใจการใช้สิทธิเลือกตั้ง. วารสารสหวิทยาการวิจัยและวิชาการ, 2(3), 217-230.

วิเชียร หนูช่วย. (2559). การสื่อสารทางการเมือง ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ของ นายชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 6(2), 199-213.

วิทยาธร ท่อแก้ว. (2563). ทฤษฎีการสื่อสารเพื่อการรณรงค์ทางการเมืองและสังคม. ใน หลักและทฤษฎีการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่นขั้นสูง (หน้า 5-1-5-20). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ศุภเดช ศักดิ์ดวง. (2556). สิริพรรณ: เบื้องหลังวาทกรรมซื้อเสียง...ทำไมคนชนบทถึงเป็นผู้ร้าย?. สืบค้นจาก www.isranews.org/content-page/item/26040-siripan_26040.html.

สุรพงษ์ โสธนะเสถียร และ สุภาภรณ์ ศรีดี. (2563). ทฤษฎีการสื่อสารกับปรากฏการณ์ทางสังคม. ใน หลักและทฤษฎีการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่นขั้นสูง (หน้า 1-1-1-31). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สุรพล พรมกุล. (2559). พฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ.2557 ในจังหวัดขอนแก่น. ธรรมทรรศน์, 15(3), 103-118.

Bhothisawang, P. (2018). Factors Influencing Voters to Local Administration Election in Pattalung Province, Thailand. Asian Political Science Review, 2(1), 57-72.

Chitlaoarporn, C. (2015). The Relationship between the Election and the Democracy. PSAKU International Journal of Interdisciplinary Research, 4(2), 12-16.

Daoust, J., Guévremont, M., & Blais, A. (2024). The (non)-religious voter in Canadian elections. Electoral Studies, 90, 102812.

Freedom House. (2022). Freedom in the World 2022: The Global Expansion of Authoritarian Rule. Washington, D.C.: Freedom House.

Freedom House. (2024). Freedom in the World 2022: The Mounting Damage of Flawed Elections and Armed Conflict. Washington, D.C.: Freedom House.

Fukuyama, F. (1989). The End of History?. The National Interest, 16(Summer), 3-18.

Fukuyama, F. (1992). The End of History and the Last Man. New York: Free Press.

Goldberg, A. (2014). The Impact of Religion on Voting Behaviour - A Multilevel Approach for Switzerland. Swiss Political Science Review, 20(2), 305-329.

Hunklinger, M., & Kleer, P. (2024). Why do LGB vote left? Insight into left-wing voting of lesbian, gay and bisexual citizens in Austria. Electoral Studies, 87, 102727.

Kasayanond, A. (2017). Media and Politics. PSAKU International Journal of Interdisciplinary Research, 6(1), 14-20.

Kenaphoom, S. (2017). Political Utility influence on Political Decision. Asian Political Science Review, 1(2), 1-12.

Kenaphoom, S. (2018). Essence of Political Utility. PSAKU International Journal of Interdisciplinary Research, 7(1), 264-275.

Mahmud, M. (2022). Awareness and Attitudes Towards the Election Campaign of Bangladesh: A Field Study on Selected Area. Asian Political Science Review, 6(2), 1-11.

Mallory, C. (2019). THE 2020 LGBT VOTE: Preferences and Characteristics of LGBT Voters. California: Williams Institute, UCLA School of Law.

Ockey, J. (2017). Team Work: Shifting Patterns and Relationships in Local and National Politics in Thailand. Sojourn: Journal of Social Issues in Southeast Asia, 32, 562-600.

Perrella, A., Brown, S., & Kay, B. (2012). Voting Behaviour among the Gay, Lesbian, Bisexual and Transgendered Electorate. Canadian Journal of Political Science, 45(1), 89-117.

Steele, C., Pemstein, D., & Meserve, S. (2020). Democracy Promotion and Electoral Quality: A Disaggregated Analysis (V-Dem Working Paper 2020:107). Gothenburg: V-Dem Institute.

Wojtasik, W. (2013). Functions of Elections in Democratic Systems. Political Preferences, 4, 25-38.

Wongsuwan, N., Jermsittiparsert, K., Tokeaw, W., & Boonsiri, K. (2022). News Consumption Behaviors among Voters in Capital's Gubernatorial Election: Evidence in Bangkok, Thailand. Przestrzen Spoleczna, 22(1), 305-324.

Wurthmann, L. (2023). German gays go green? Voting behaviour of lesbians, gays, and bisexuals in the 2021 German federal election. Electoral Studies, 81, 102558.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-09-01

How to Cite

วงษ์สุวรรณ น., เจิมสิทธิประเสริฐ ก., ท่อแก้ว ว., & บุญศิริ ก. (2024). อะไรคือสิ่งที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งอยากรู้เกี่ยวกับตัวผู้ที่จะเข้ามาบริหารเมืองหลวงและมีผลในการตัดสินใจของพวกเขา: บทเรียนจากประเทศไทย. สหวิทยาการและความยั่งยืนปริทรรศน์ไทย, 13(2), 234–250. https://doi.org/10.14456/tisr.2024.39