การบูรณาการหลักพุทธธรรมเพื่อส่งเสริมกระบวนเข้าสู่ความเป็นนักการเมืองสตรีในระบอบประชาธิปไตยในจังหวัดสุราษฎร์ธานี
DOI:
https://doi.org/10.14456/tisr.2024.37คำสำคัญ:
หลักพุทธธรรม, นักการเมืองสตรี, ระบอบประชาธิปไตย, จังหวัดสุราษฎร์ธานีบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพทั่วไป ปัญหาและอุปสรรค เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการส่งเสริมกระบวนเข้าสู่ความเป็นนักการเมืองสตรี และเพื่อนำเสนอการบูรณาการหลักพุทธธรรมเพื่อส่งเสริมกระบวนการเข้าสู่ความเป็นนักการเมืองสตรีในระบอบประชาธิปไตยในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ผลการวิจัยพบว่า สังคมไทยดั้งเดิมมองภาพสตรีเป็นช้างเท้าหลังมีหน้าที่ทำงานบ้านและดูแลบุตร สตรีคงมีลักษณะความละเอียดอ่อน อ่อนไหว ไม่กล้าตัดสินใจ ขาดอิทธิพลบารมี สตรีต้องรักษาภาพพจน์ในศีลธรรมและต้องคำนึงถึงสถานการณ์ที่มีความสุ่มเสี่ยง ปัจจัยที่มีผลต่อการส่งเสริมกระบวนการเข้าสู่ความเป็นนักการเมืองสตรีโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านการเมืองอยู่ในระดับมาก การวิจัยนำเสนอหลักสัปปุริสธรรม 7 มาบูรณาการเพื่อส่งเสริมสตรีให้เข้าสู่ความเป็นนักการเมืองตามแนวทางระบอบประชาธิปไตย
References
กรมการปกครอง. (2566). สถิตจำนวนประชากรพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี. สืบค้นจาก https://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statMONTH//statmonth//#/view.
กิติญา มุขสมบัติ. (2560). การพัฒนาบทบาทนักการเมืองท้องถิ่นสตรีไทยในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างตามเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ. ดุษฎีนิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
จิตกร วิจารณรงค์, วัชรินทร์ ชาญศิลป์ และ สมาน งามสนิท. (2566). การบูรณาการหลักพุทธธรรมเพื่อส่งเสริมประสิทธิผลการบริหารจัดการท่องเที่ยวของบริษัทท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร. วารสารพุทธนวัตกรรมและการจัดการ, 6(2), 44-58.
นิตยา เทพแป้น, อัศว์ศิริ ลาปีอี และ ไชยวัฒน์ เผือกคง. (2565). ปรากฏการณ์การเข้าสู่ตำแหน่งทางการเมืองของสตรีในบทบาทผู้นำทางการเมืองท้องถิ่น จังหวัดสุราษฎร์ธานี. การค้นคว้าอิสระ รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งจำนวนเขตเลือกตั้ง และท้องที่ที่ประกอบเป็นเขต พ.ศ.2566.
พรธิดา ช่วยสำราญ, สุพัฒพงศ์ แย้มอิ่ม และ ไชยวัฒน์ เผือกคง. (2566). บทบาทและภาพลักษณ์ของนักการเมืองสตรีระดับท้องถิ่นที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้งของประชาชน ในเขตพื้นที่อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี. การค้นคว้าอิสระ รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
มนสิชา ภักดิเมธี และ พลวัฒ ประพัฒน์ทอง. (2560). บทบาทสตรีในการบริหารองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดเชียงราย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น, 11(3), 195-210.
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. (2537). พระไตรปิฎกและอรรถาแปล ชุด 91 เล่ม ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.
วิภาพรรณ อุปนิสากร. (2559). การพัฒนาบทบาททางการเมืองของสตรี. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 16(3), 51-61.
ศิกัญญา อยู่เมือง และ ณฐภัทร อยู่เมือง. (2562). การพัฒนาบทบาททางการเมืองในการมีส่วนร่วมทางการเมืองของสตรีระดับท้องถิ่นในเขตอำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย. วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย, 12(3), 121-140.
อำนาจ สุมโน (จิตร์มั่น), วิรุธ วิโรจโน และ ประยุตสารธรรม. (2567). พฤติกรรมของผู้นำท้องถิ่นตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ในเขตตำบลหัวหนอง อำเภอบ้านไผ่
จังหวัดขอนแก่น. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มมร. วิทยาเขตอีสาน, 5(1), 123-133.
อุปกิตปริยัติโสภณ และ สุวิชัย อินทกุล. (2564). สัปปุริสธรรม 7 กับการพัฒนาในศตวรรษที่ 21. วารสาร มจร. การพัฒนาสังคม, 6(2), 198-206.
Bari, F. (2005). Women’s Political Participation: Issues and Challenges. Retrieved from www.un.org/womenwatch/daw/egm/enabling-environment2005/docs/EGM-WPD-EE-2005-EP.12%20%20draft%20F.pdf.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 Authors
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.