องค์ประกอบคณะกรรมการบริษัทที่ส่งผลต่อการเปิดเผยรายงานความยั่งยืนของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • นิภาพร พิระภาค คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม
  • ฐิตาภรณ์ สินจรูญศักดิ์ คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม

DOI:

https://doi.org/10.14456/tisr.2024.36

คำสำคัญ:

องค์ประกอบคณะกรรมการบริษัท, การเปิดเผยรายงานความยั่งยืน, ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบคณะกรรมการบริษัทที่ส่งผลต่อการเปิดเผยรายงานความยั่งยืนของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี (แบบ 56-1) และรายงานประจำปีของบริษัทจดทะเบียนฯ จำนวน 272 บริษัท ระหว่างปี พ.ศ.2561-2565 โดยการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบคณะกรรมการบริษัทที่ส่งผลต่อการเปิดเผยรายงานความยั่งยืนของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มีดังนี้ (1) องค์ประกอบคณะกรรมการบริษัท ความเป็นอิสระของคณะกรรมการ (INDD) มีผลกระทบทางตรงเชิงบวกต่อด้านสิ่งแวดล้อม (2) องค์ประกอบคณะกรรมการบริษัท ความเป็นอิสระของคณะกรรมการ (INDD) มีผลกระทบทางตรงเชิงบวกต่อด้านสังคม (3) องค์ประกอบคณะกรรมการบริษัท จำนวนของคณะกรรมการ (BSIZE) และจำนวนคณะกรรมการตรวจสอบ (ACE) มีผลกระทบทางตรงเชิงบวกต่อด้านธรรมาภิบาล และ (4) องค์ประกอบคณะกรรมการบริษัท จำนวนของคณะกรรมการ (BSIZE) มีผลกระทบทางตรงเชิงบวกต่อด้านเศรษฐกิจ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

References

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2556). การวิเคราะห์สถิติ: สถิติสำหรับบริหารและวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กันต์ฤทัย ไชโย. (2561). ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัทและผลการดำเนินงานของบริษัท. งานนิพนธ์ บัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.

จรัญญา อนันตชัย. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างรายงานความยั่งยืนและมูลค่าของกิจการของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. การค้นคว้าอิสระ บัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ชไมพร รัตนเจริญชัย, ปาริชาติ ราชประดิษฐ์ และ สัมพันธ์ เนตยานันท์. (2560). ผลกระทบจากการกำกับดูแลกิจการและรายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่ส่งผลต่อมูลค่ากิจการของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาชีพบัญชี, 13(37), 53-72.

ชุติมา นาคงาม. (2561). การศึกษารายงานความยั่งยืนที่ส่งผลตอบแทนต่อผู้ลงทุนของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. การค้นค้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ชุติมณฑน์ ศรีพวาทกุล, อรุณี ยศบุตร, รัชนียา บังเมฆ และ ชัยยศ สัมฤทธิ์สกุล. (2566). ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างผู้ถือหุ้น องค์ประกอบคณะกรรมการกับความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม : หลักฐานเชิงประจักษ์จากตลาดหลักทรัพย์เอ็ม เอ ไอ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 17(2), 53-72.

ณัฐศิริ บุญชวน. (2555). แนวทางการจัดทำรายงานแห่งความยั่งยืน. กรุงเทพฯ: บริษัท เมจิกเพลส จำกัด.

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2566). รายชื่อบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. สืบค้นจาก www.set.or.th/th/market/information/securities-list/main.

ธนพงศ์ วุ่นแสง. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างการรายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนกับมูลค่าราคาตลาดของหุ้น ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ บัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

นงลักษณ์ ผุดเผือก และ สุรีย์ โบษกรนัฏ. (2567). บทบาทของคณะกรรมการตรวจสอบกับผลการดําเนินงานของกิจการ. สหวิทยาการและความยั่งยืนปริทรรศน์ไทย, 13(2), 46-54.

นภาพร จักรวาลกุล, ศักดิ์ชาย จันทร์เรือง และ อิทธิพัทธ์ โยธะพันธ์. (2560). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับดูแลกิจการที่ดีกับรายงานความยั่งยืนของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยต่อระดับรายงานความยั่งยืนของกิจการด้านเศรษฐกิจ. วารสารวิจัยรำไพพรรณี, 11(2), 77-88.

นิจวิภา ภูกัน. (2567). การเปิดเผยรายงานความยั่งยืนกับผลการดำเนินงานของบริษัทที่จดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ. บทความนำเสนอในงานการประชุมวิชาการและการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 11 และระดับนานาชาติ ครั้งที่ 9, 26 พฤษภาคม 2567, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

ปริศนา เยาวมาร, เนตรดาว ชัยเขต และ กมลวรรณ รอดหริ่ง. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของคณะกรรมการตรวจสอบกับค่าธรรมเนียมการสอบบัญชีของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2(1), 54-67.

ปิยะดา เนตรสุวรรณ, มนทิพย์ ตั้งเอกจิต และ ภูริทัต อินยา. (2565). การเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืนของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 39(1), 1-26.

รุ่งฟ้า พรหมบุตร. (2557). ขนาดและองค์ประกอบคณะกรรมการบริษัทกับนโยบายการจ่ายเงินปันผล: หลักฐานจากบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ บัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

สมบูรณ์ สาระพัด. (2565). ผลกระทบของการเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืนที่มีต่อผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 1(2), 1-26.

อรุณี ยศบุตร. (2566). องค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัทกับการเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืน: หลักฐานเชิงประจักษ์จากบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เอ็ม เอ ไอ. วารสารบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ราชมงคลล้านนา, 11(2), 73-92.

อาจารีย์ ประจวบเหมาะ, ประยงค์ มีใจซื่อ, ชาคริต สกุลอิสริยาภรณ์ และ ศุภสิทธิ์ จารุพัฒน์หิรัญ. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างคณะกรรมการบริษัทกับผลการดำเนินงานของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารเกษมบัณฑิต, 19(ฉบับพิเศษ), 124-141.

Burns, N., & Grove, S. (1997). The Practice of Nursing Research Conduct, Critique and Utilization. 3rd ed. Pennsylvania: W.B. Saunders Company.

Cooke, T. (1989). Voluntary Corporate Disclosure by Swedish Companies. Journal of International Financial Management & Accounting, 1(2), 171-195.

Dorestani, A., & Rezaee, Z. (2011). Key Performance Indicators and Analysts’ earnings Forecast Accuracy: An Application of Content Analysis. Asian Academy of Management Journal of Accounting and Finance, 7(2), 79-102.

Simionescu, L., & Gherghina, S. (2014). Corporate social responsibility and corporate performance: empirical evidence from a panel of the Bucharest Stock Exchange listed companies. Management & Marketing, Economic Publishing House, 9(4), 439-458.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-08-17

How to Cite

พิระภาค น., & สินจรูญศักดิ์ ฐ. (2024). องค์ประกอบคณะกรรมการบริษัทที่ส่งผลต่อการเปิดเผยรายงานความยั่งยืนของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. สหวิทยาการและความยั่งยืนปริทรรศน์ไทย, 13(2), 199–208. https://doi.org/10.14456/tisr.2024.36