ปัจจัยเชิงนิเวศวิทยาทางการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพนักศึกษา ของสถาบันอุดมศึกษา
DOI:
https://doi.org/10.14456/tisr.2024.32คำสำคัญ:
นิเวศวิทยาทางการศึกษา, การพัฒนาคุณภาพนักศึกษา, สถาบันอุดมศึกษาบทคัดย่อ
การเริ่มเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาเป็นการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของชีวิต นักเรียนที่กำลังเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาจะสามารถปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงและก้าวผ่านรอยเชื่อมต่อระหว่างการศึกษาขั้นพื้นฐานกับระดับสถาบันอุดมศึกษาได้อย่างราบรื่นเพียงใด ขึ้นอยู่กับการปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษากับบริบทต่างที่อยู่รอบตัว ทั้งในครอบครัว มหาวิทยาลัย และสังคม ซึ่งล้วนมีอิทธิพลต่อการพัฒนาคุณภาพนักศึกษา ทั้งการเจริญเติบโตทางความคิด สติปัญญา และความสามารถ เกิดจากพัฒนาปัจจัยนิเวศวิทยาทางการศึกษา 3 กลุ่ม คือ ตัวนักศึกษา กิจการนักศึกษา และสถานศึกษา บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจกับอาจารย์และบุคลาการในสถาบันอุดมศึกษา และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษากับบริบทต่างๆ รอบตัว ที่เรียกว่า “นิเวศวิทยาทางการศึกษา” โดยใช้ทฤษฎีของ บรอนเฟนเบรนเนอร์ เป็นกรอบคิดในการพัฒนาคุณภาพนักศึกษา ซึ่งเป็นการช่วยเหลือสนับสนุนให้นักศึกษาสามารถรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และเกิดความเจริญสูงสุด เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ถูกต้องตามทิศทางที่ดีงามตามผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี อย่างน้อย 4 ด้าน คือ ความรู้ ทักษะ จริยธรรม และลักษณะบุคคล ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
References
โกศล มีคุณ. (2557). การวิจัยเพื่อสร้างเครื่องมือวัดเหตุผลเชิงจริยธรรมชนิดทั่วไปและชนิดเฉพาะกิจ และการประเมินความตรงจากการวัด. วารสารจิตพฤติกรรมศาสตร์: ระบบพฤติกรรม ไทย, 11(1), 16-65.
ชุตินาถ รัตนจรณะ. (2527). การศึกษาค่านิยมพื้นฐาน 5 ประการของนักศึกษาระดับปริญญาตรีในวิทยาลัยครูภาคกลาง. การค้นคว้าอิสระ การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ณัฐกาญจน์ กอมณี. (2559). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์อย่างมีวิจารณญาณของนิสิตชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2538). ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรม: การวิจัยและการพัฒนาบุคคล. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ดุจเดือน พันธุมนาวิน. (2547). จิตวิทยาจริยธรรมและจิตวิทยาภาษา. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
ธิดารัตน์ บุญนุช. (2543). การพัฒนากิจกรรมนิสิตนักศึกษา. กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ์.
ธีรเสฏฐ์ ศิรธนานนท์. (2565). การพัฒนายุทธศาสตร์สถาบันอุดมศึกษาไทยด้วยแนวคิดดุลยภาพที่ยั่งยืน. วารสารวิชาการ วิจัย และนวัตกรรม มสธ. (มนษุยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 2(2), 1-13.
บุรินทร์ เทพสาร และ อภิภา ปรัชญพฤทธิ์. (2560). ยุทธศาสตร์การบริหารการเปลี่ยนแปลงสถาบันอุดมศึกษาเอกชนสู่การเป็นองค์กรแห่งความสุข. วารสารครุศาสตร์, 45(3), 83-96.
ประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา เรื่อง รายละเอียดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2565.
ประภาภัทร นิยม. (2563). โครงการวิจัยปฏิบัติการเพื่อพัฒนาต้นแบบพื้นที่นวัตกรรมการจัดการศึกษาระดับจังหวัด: กรณีศึกษาจังหวัดระยองและจังหวัดศรีสะเกษ. กรุงเทพฯ: สถาบันอาศรมศิลป์.
ปราณี จ้อยรอด, ลัดดาวัลย์ เกษมเนตร และ ประทีป จินงี่. (2554). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการรับสื่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนช่วงชั้นที่ 4 ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 16(1), 71-81.
วรรณรัตน์ ลาวัง และ รัชนี สรรเสริญ. (2558). PPCT Model: รูปแบบชีวนิเวศวิทยาเพื่อพัฒนาสุขภาพผู้มีภาวะเจ็บป่วยเรื้อรังในชุมชน. วารสารพยาบาลทหารบก, 16(2), 15-20.
วันณพงค์ วงศ์พานิช. (2562). คู่มือปฏิบัติงาน การให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา. สืบค้นจาก www.pbru.ac.th/pbru/wp-content/uploads/2022/03/คู่มือการปฏิบัติงาน-การให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา.pdf.
วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา. (2544). การพัฒนาการเรียนการสอนทางการอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน. (2564). การพัฒนาโปรแกรมเสริมเพื่อเสริมสร้างชุดความคิดแบบเติบโตของนักศึกษาวิชาชีพครู สถาบันอุดมศึกษาเอกชน. ปริญญานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สำนักส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักศึกษา. (2563). กรอบแนวทางการดำเนินการตามมาตรฐานกิจการนักศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.
สำเนาว์ ขจรศิลป์. (2550). หลักการบริหารกิจการนักศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุภาพร บัวผัด. (2561). การใช้วิธีคิดเชิงออกแบบเพื่อพัฒนาระบบการโค้ชนิสิตในการทำกิจกรรม: กรณีศึกษาการสร้างทีมนิสิตทุนให้มีทักษะการเป็นผู้ประกอบการ. พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา.
สุวรรณี ลัคนวณิช. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล พฤติกรรมการใช้ชีวิต และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่ใช้ชีวิตในที่พักเอกชน ย่านรังสิต จังหวัดปทุมธานี. BU Academic Review, 13(1), 13-16.
อมรรัตน์ มีพัฒน์, ธีระภาพ เพชรมาลัยกุล และ จตุพล ยงศร. (2566). ระบบนิเวศการบริหารสถานศึกษาเอกชน. วารสารรัชต์ภาคย์, 17(51), 123-139.
อังศวีร์ เครือแก้ว. (2562). กรอบความคิด กับผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงาน กรณีศึกษา บุคลากรสายสนับสนุนภายใต้สำนักงานมหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. การค้นคว้าอิสระ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Bronfenbrenner, U. (1974). Developmental Research, Public Policy, and the Ecology of Childhood. Child Development, 45(1), 1-5.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 Authors
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.