ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษา ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ ในกรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด
  • บุณย์ญาพร บุญเมฆ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด
  • หทัยรัตน์ เลิศจรรยากิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด
  • อังคณา ผิวละออ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด

DOI:

https://doi.org/10.14456/tisr.2024.20

คำสำคัญ:

คุณลักษณะการเป็นผู้ประกอบการ, นักศึกษาปริญญาตรี, บริหารธุรกิจ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะการเป็นผู้ประกอบการและเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภูมิหลังกับคุณลักษณะการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษาปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจในกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจในกรุงเทพมหานคร จำนวน 228 คน สุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน ใช้เครื่องมือวัดแบบมาตรประเมินรวมค่าตัวแปร จำนวน 7 ชุด แบบวัดทั้งหมดมีค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟ่าระหว่าง 0.74-0.82 ผลการวิจัย พบว่า 1) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับคุณลักษณะการเป็นผู้ประกอบการอยู่ระหว่าง 0.317 ถึง 0.829 และ 2) ชุดทำนายคุณลักษณะการเป็นผู้ประกอบการสามารถทำนายกลุ่มรวมได้ร้อยละ 60.34 โดยพบตัวทำนายสำคัญตามลำดับ ได้แก่ ความต้องการประสบความสำเร็จ ความมั่นใจในตนเอง ความอดทนต่อความไม่ชัดเจน การกล้าเสี่ยง การควบคุมตน ในส่วนท้ายผู้วิจัยได้เสนอแนวทางการพัฒนาคุณลักษณะการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษาปริญญาตรีเพื่อประโยชน์ในการนำไปปรับใช้ต่อไป

References

ประจักษ์ ปฏิทัศน์. (2560). จิตวิทยาสำหรับผู้ประกอบการ. กรุงเทพฯ: ศูนย์ผลิตตำราเรียนและสิ่งพิมพ์ดิจิทัล มจพ.

พิบูล ทีปะปาล และ ธนวัฒน์ ทีปะปาล. (2552). การเป็นผู้ประกอบการ. กรุงเทพฯ: อมรการพิมพ์.

วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา. (2556). การพัฒนานิสิตนักศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Ajzen, I. (2020). The theory of planned behavior: Frequently asked questions. Human Behavior and Emerging Technologies, 2(4), 314-324.

Audretsch, D. (2017). Entrepreneurship and Universities. International Journal of Entrepreneurship and Small Business, 31(1), 4-11.

Balan, P., & Lindsay, N. (2010). Innovation capability, entrepreneurial orientation and performance in Australian hotels: An empirical study. Queensland: Cooperative Research Centre for Sustainable Tourism.

Bosma, N., Content, J., Sanders, M., & Stam, E. (2018). Institutions, entrepreneurship, and economic growth in Europe. Small Business Economics, 51, 483-499.

Davidsson, P., Delmar, F., & Wiklund, J. (2017). Entrepreneurship as Growth: Growth as Entrepreneurship. In M. Hitt, R. Ireland, S. Camp, & D. Sexton. (eds.). Strategic Entrepreneurship: Creating a New Mindset (pp. 328-342). New Jersey: Blackwell Publishing Ltd.

Gartner, W. (2012). Entrepreneurship as organization creation. In Handbook of Organizational Entrepreneurship (pp. 21-30). Cheltenham: Edward Elgar Publishing.

Gedeon, S. (2010). What Is Entrepreneurship?. Entrepreneurial practice review, 1(3), 16-35.

Herron, L., & Robinson Jr., R. (1993). A structural model of the effects of entrepreneurial characteristics on venture performance. Journal of Business Venturing, 8(3), 281-294.

Hisrich, R., Peters, M., & Shepherd, D. (2020). Entrepreneurship. 11th ed. New York: McGraw-Hill Education.

Keat, O., Selvarajah, C., & Meyer, D. (2011). Inclination towards entrepreneurship among university students: An empirical study of Malaysian university students. International Journal of Business and Social Science, 2(4), 206-220.

Koh, D., Fung-Leung, W., Ho, A., Gray, D., Acha-Orbea, H., & Mak, T. (1992). Less mortality but more relapses in experimental allergic encephalomyelitis in CD8-/- mice. Science, 256(5060), 1210-1213.

Koh, H. (1996). Testing Hypotheses of Entrepreneurial Characteristics: A Study of Hong Kong MBA Students. Journal of Managerial Psychology, 11, 12-25.

Kuratko, D. (2005). The emergence of entrepreneurship education: Development, trends, and challenges. Entrepreneurship Theory and Practice, 29(5), 577-597.

Lumpkin, G., & Dess, G. (2001). Linking two dimensions of entrepreneurial orientation to firm performance: The moderating role of environment and industry life cycle. Journal of Business Venturing, 16(5), 429-451.

Miller, D., & Friesen, P. (1982). The longitudinal analysis of organizations: A methodological perspective. Management Science, 28(9), 1013-1034.

Nasierowski, W., & Arcelus, F. (2012). What is innovativeness: literature review. Foundations of Management, 4(1), 63-74.

Ngamcharoen, P. (2024). Entrepreneurs’ Characteristics That Impact Success in Organic Farming. Asian Administration and Management Review, 7(1), 13-24.

Rotter, J. (1966). Generalized expectancies for internal versus external control of reinforcement. Psychological Monographs: General and Applied, 80(1), 1-28.

Sakdapat, N. (2022). Analysis of the Path of influence of work skills in the new normal life of the undergraduate students in Thailand. Przestrzen Społeczna (Social Space), 22(3), 152-168.

Sakdapat, N. (2023). The Role of Psychological Factors and Situational Factors on the Financial Planning Behavior of Private Sector Employees in Thailand. International Journal of Economics and Finance Studies, 15(1), 449-465.

Sakdapat, N. (2024). Approaches for sustainable professional skill development for vocational education students in Thailand. F1000Research, 13, 401.

Schimperna, F., Nappo, F., & Marsigalia, B. (2021). Student Entrepreneurship in Universities: The State-of-the-Art. Administrative Sciences, 12(1), 5.

Zhao, Y. (2012). World Class Learners: Educating Creative and Entrepreneurial Students. California: Corwin Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-01

How to Cite

บัญชาพัฒนศักดา ช., บุญเมฆ บ., เลิศจรรยากิจ ห., & ผิวละออ อ. (2024). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษา ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ ในกรุงเทพมหานคร. สหวิทยาการและความยั่งยืนปริทรรศน์ไทย, 13(2), 21–31. https://doi.org/10.14456/tisr.2024.20