การพัฒนาผลิตภัณฑ์เนื้อว่านหางจระเข้ในน้ำเชื่อม

ผู้แต่ง

  • อรรถ ขันสี โรงเรียนการเรือน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษาลำปาง
  • อัศพงษ์ อุประวรรณา โรงเรียนการเรือน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษาลำปาง
  • สังวาลย์ ชมภูจา โรงเรียนการเรือน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษาลำปาง
  • จรรยา โท๊ะนาบุตร โรงเรียนการเรือน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษาลำปาง

DOI:

https://doi.org/10.14456/tisr.2024.24

คำสำคัญ:

เนื้อว่านหางจระเข้, น้ำเชื่อม, แช่อิ่ม

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์เนื้อว่านหางจระเข้ในน้ำเชื่อม จากการสำรวจความต้องการของผู้บริโภค จำนวน 100 คน พบว่า แนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ผู้บริโภคต้องการ คือ ขนาดเนื้อว่านหางจระเข้ขนาด 1.5-2 เซนติเมตร บรรจุในภาชนะขนาด 5 ออนซ์ และใช้กลิ่นรสแอปเปิ้ลเขียว และพิจารณาใช้สีเขียวแอปเปิ้ลเพื่อใช้ศึกษาร่วมกับการแต่งสีและกลิ่น จากการพัฒนาผลิตภัณฑ์เนื้อว่านหางจระเข้ในน้ำเชื่อม และนำไปวิเคราะห์ทางกายภาพ พบว่า เนื้อว่านหางจระเข้ในน้ำเชื่อมแต่ละสูตรที่พัฒนาขึ้นไม่ส่งผลต่อค่าความสว่าง (L*) ของผลิตภัณฑ์ แต่เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของน้ำตาลสูงขึ้นส่งผลให้ค่าความเป็นสีแดง (a*) ของเนื้อว่านหางจระเข้ในน้ำเชิ่อมเพิ่มสูงขึ้น และสูตรที่ได้รับการยอมรับสูงที่สุด คือ เนื้อว่านหางจระเข้ในน้ำเชื่อมที่มีสัดส่วนน้ำตาล : กรดซิตริก : น้ำเปล่า คือ 60 : 0.5 : 39.5 (ชอบปานกลางถึงชอบมาก) และเมื่อศึกษาการแต่งสีและกลิ่น พบว่า การแต่งสีและกลิ่นส่งผลให้เกิดความชอบของผลิตภัณฑ์สูงยิ่งขึ้น โดยสูตรที่ได้รับการยอมรับจากผู้บริโภคสูงที่สุด คือ สีเขียวแอปเปิ้ลเจือจาง 100 เท่า ร้อยละ 2 ร่วมกับกลิ่นแอปเปิ้ลเขียวร้อยละ 0.01 (ชอบปานกลางถึงชอบมาก) มีอายุการเก็บรักษา 60 วัน โดยมีคะแนนความชอบอยู่ในระดับชอบปานกลางถึงชอบมาก

References

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. (2556). มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน มผช.127/2556 น้ำว่านหางจระเข้. สืบค้นจาก https://tcps.tisi.go.th/pub/tcps0127_56(น้ำว่านหางจระเข้).pdf.

Choi, S., & Chung, M. (2003). A review on the relationship between aloe vera components and their biologic effects. Seminars in Integrative Medicine, 1(1), 53-62.

Cui, H., Yu, J., Zhai, Y., Feng, L., Chen, P., Hayat, K., Xu, Y., Zhang, X., & Ho, C. (2021). Formation and fate of Amadori rearrangement products in Maillard reaction. Trends in Food Science & Technology, 115, 391-408.

El-Sayed, S., & El-Sayed, H. (2020). Production of UF-soft cheese using probiotic bacteria and Aloe vera pulp as a good source of nutrients. Annals of Agricultural Sciences, 65(1), 13-20.

Fortune Business Insights. (2020). Confectionaery Size, Share & Covid-19 Impact Analysis, By Type (Chocolate, Sugar and Gums), Distribution Channel (Hypermarket/Supermarket, Convenience Stores, Departmental Stores, and Online Retails), and Regional Forecast, 2021-2028. Maharashtra: Fortune Business Insights.

Garber Jr., L., Hyatt, E., & Nafees, L. (2016). The Effects of Food Color on Perceived Flavor: A Factorial Investigation in India. Journal of Food Products Marketing, 22(8), 930-948.

Mahmoud, M., Fagiry, M., Davidson, R., & Abdelbasset, W. (2022). The benefits, drawbacks, and potential future challenges of the most commonly used ultrasound-based hurdle combinations technologies in food preservation. Journal of Radiation Research and Applied Sciences, 15(1), 206-212.

Princy, A. (2021). Health Risks of Consuming Excessive Confectionery Products. Retrieved from www.researchdive.com/blog/health-risks-of-consuming-excessive-confectionery-products.

Shelton, M. (1991). Aloe Vera, Its Chemical and Therapeutic Properties. International Journal of Dermatology, 30, 679-683.

Spence, C. (2015). On the Psychological Impact of Food Colour. Flavour, 4, 21.

Spence, C. (2019). On the Relationship(s) Between Color and Taste/Flavor. Experimental Psychology, 66(2), 99-111.

Spence, C., & Piqueras-Fiszman, B. (2016). Food Color and Its Impact on Taste/Flavor Perception. In Multisensory Flavor Perception (pp. 107-132). North Holland: Elsevier Ltd.

Statista. (2023). Confectionery-Thailand. Retrieved from www.statista.com/outlook/cmo/food/confectionery-snacks/confectionery/Thailand.

Surjushe, A., Vasani, R., & Saple, D. (2008). Aloe Vera: A Short Review. Indian Journal of Dermatology, 53(4), 163-166.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-20

How to Cite

ขันสี อ., อุประวรรณา อ., ชมภูจา ส., & โท๊ะนาบุตร จ. (2024). การพัฒนาผลิตภัณฑ์เนื้อว่านหางจระเข้ในน้ำเชื่อม. สหวิทยาการและความยั่งยืนปริทรรศน์ไทย, 13(2), 66–78. https://doi.org/10.14456/tisr.2024.24