แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ประกอบการชำระภาษี ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์

ผู้แต่ง

  • ดวงกมล ดุจดารา คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม
  • กัลยาภรณ์ ปานมะเริง คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม

DOI:

https://doi.org/10.14456/tisr.2024.19

คำสำคัญ:

การส่งเสริมและสนับสนุน, การยื่นชำระภาษีผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์, ผู้ประกอบการ

บทคัดย่อ

สถานการณ์ในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงการทำการค้าซื้อขายบนโลกออนไลน์อยู่เป็นจำนวนมากและมีมูลค่าทางการตลาดสูงตามไปด้วย การเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วนี้ก่อเกิดปัญหาที่ผู้ประกอบการไม่ได้เข้ามาอยู่ในระบบการเสียภาษีของกรมสรรพากร และการจัดเก็บภาษีของภาครัฐไม่ได้ตามเป้าหมายทั้งยังพบปัญหาในชำระภาษีผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ว่ามีการยื่นแบบซับซ้อนก่อให้เกิดความล่าช้า ทั้งผู้ประกอบการขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบยื่นแบบและขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องกฎหมายภาษี และแรงจูงใจในการชำระภาษีผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ อีกทั้งความไม่พร้อมของคุณภาพระบบการชำระภาษีผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ส่งผลต่อความตั้งใจชำระภาษีผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์และการยื่นชำระภาษีผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้นเพื่อลดปัญหาและอุปสรรคดังกล่าว จึงได้ออกแนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ประกอบการชำระภาษีผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ให้ใช้เทคโนโลยีเพื่อเข้ามาสนับสนุนระบบการทำงานให้ดียิ่งขึ้นไม่เพียงแต่อำนวยความสะดวกกับบุคลากรในองค์กรเพียงอย่างเดียว แต่รวมไปถึงการช่วยเพิ่มความสะดวกให้กับประชาชนทุกคนและผู้ประกอบการทุกภาคส่วนเพื่อส่งเสริมให้ภาคธุรกิจทำธุรกรรมภาษีทางอิเล็กทรอนิกส์อย่างครบวงจรพร้อมทั้งสามารถเตรียมความพร้อมและรองรับระบบ e-Tax ของกรมสรรพากรได้เต็มรูปแบบนำไปสู่การตรวจสอบข้อมูลภาษีผ่านระบบออนไลน์ได้ด้วยตนเอง ยังทำให้ระบบการจัดเก็บภาษีของกรมสรรพากรเกิดประสิทธิภาพ มีความถูกต้องครบถ้วนอีกด้วย

References

กรมสรรพากร. (ม.ป.ป.). อีไฟล์ลิ่ง ยื่นแบบและชำระภาษีออนไลน์. สืบค้นจาก https://efiling.rd.go.th/rd-cms/bank.

เจตพล ติปยานนท์ และ ฑิฆัมพร ทวีเดช. (2564). การยกระดับความสามารถการใช้ระบบ e-Filing ของผู้ยื่นแบบและชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา. วารสารด้านการบริหารรัฐกิจและการเมือง, 10(2), 205-218.

นิชานันท์ ชาวนา. (2559). ปัญหาและอุปสรรคของการยื่นแบบและชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านอินเทอร์เน็ต ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่ชลบุรี 1. การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.

เมทินี จันทร์กระแจะ. (2558). คุณภาพของระบบสารสนเทศและการยอมรับเทคโนโลยีที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการธนาคารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

สาธุภณ ดำแลลิบ. (2566). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจของผู้ประกอบการในการใช้งานระบบใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ กรณีศึกษาผู้ประกอบการนิติบุคคลที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มในจังหวัดพิษณุโลก. วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 5(1), 21-45.

อธิภัทร มุทิตาเจริญ. (2559). แรงจูงใจทางภาษี..ไทยอยู่ตรงไหนในอาเซียน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ไฮเปอร์เนท.

อรวรรณ สุขยานี. (2558). ความตั้งใจในการใช้ระบบสารสนเทศการบริหารทรัพยากรบุคคลของบุคลากรสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์: การประยุกต์ใช้ตัวแบบการยอมรับเทคโนโลยี. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

Awai, E., & Oboh, T. (2020). Ease of paying taxes: The electronic tax system in Nigeria. Accounting and Taxation Review, 4(1) 63-73.

Berdykhanova, D., Dehghantanha, A., & Hariraj, K. (2010). Trust challenges and issues of e-government: E-tax prospective. A paper presented at the 2010 International Symposium on Information Technology, Kuala Lumpur, Malaysia.

Bhuasiri, W., Zo, H., Lee, H., & Ciganek, A. (2016). User Acceptance of e-government Services: Examining an e-tax Filing and Payment System in Thailand. Information Technology for Development, 22(4), 672-695.

Edwards-Dowe, D. (2008). E-Filing and E-Payments – The Way Forward. Guyana: Caribbean Organisation of Tax Administrators.

Erdos, E., & Kiss, L. (2019). Double taxation and double non-taxation as the new tendencies of EU e-tax law. A paper presented at the 33rd microCAD International Multidisciplinary Scientific Conference, Northern Hungary, University of Miskolc.

Gorham, U. (2012). State courts, e-filing, and diffusion of innovation: a proposed framework of analysis. A paper presented at the 13th Annual International Conference on Digital Government Research, Maryland, USA.

Mantel, B. (2000). Why Don’t Consumers Use Electronic Banking Products? Towards a Theory of Obstacles, Incentives, and Opportunities (Working Paper EPS-2000-1). Illinois: Federal Reserve Bank of Chicago.

Masunga, F., Mapesa, H., & Nyalle, M. (2020). Quality of E-Tax System and its Effect on Tax Compliance (Evidence from Large Taxpayers in Tanzania). International Journal of Commerce and Finance, 6(2), 145-185.

Oktaviani, R., Wahono, R., & Srimindarti, C. (2019). The Electronic Systems and Taxpayer Compliance. Jurnal Akuntansi, 23(1), 143-159.

Sondakh, J. (2017). Behavioral Intention to Use E-Tax Service System: An Application of Technology Acceptance Model. European Research Studies Journal, 20(2A), 48-64.

Sumaiyarat, Y. (2018). The Imposition of Tax on Over-The-Top Content Providers in Thailand. Master of Laws Thesis, Thammasat University.

Sung, M., Awasthi, R., & Lee, H. (2017). Can tax incentives for electronic payments reduce the shadow economy?: Korea's attempt to reduce underreporting in retail businesses (Working Paper 7936). Washington, D.C.: The World Bank.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-01

How to Cite

ดุจดารา ด., & ปานมะเริง ก. (2024). แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ประกอบการชำระภาษี ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์. สหวิทยาการและความยั่งยืนปริทรรศน์ไทย, 13(2), 12–20. https://doi.org/10.14456/tisr.2024.19