การบริหารจัดการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ

ผู้แต่ง

  • รัชพล อ่ำสุข คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์ คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

DOI:

https://doi.org/10.14456/tisr.2023.11

คำสำคัญ:

ผู้สูงอายุ, ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบาย 1) การบริหารจัดการและการดำเนินงานของศูนย์ฯ 2) การมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการและการดำเนินงาน 3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการบริหารจัดการและการดำเนินงาน และ 4) เพื่อนำเสนอการพัฒนาการบริหารจัดการศูนย์ฯ จากการศึกษาพบว่าองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) เป็นผู้สนับสนุนหลักในการจัดตั้งและขับเคลื่อนการดำเนินการ นอกจากนี้ยังมีคณะกรรมการที่ผ่านการคัดเลือกโดยวิธีการที่แตกต่างกัน ในด้านการได้มาซึ่งทรัพยากร พบว่ามีการได้มาที่หลากหลาย บางส่วนได้รับสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพียงอย่างเดียว ขณะที่บางศูนย์ฯ ได้รับผ่านโครงการหรือการประกวดต่างๆ สำหรับการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนต่างๆ ได้แก่ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด อปท. สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ภาคประชาชน และหน่วยงานต่างๆ แต่ไม่ปรากฏการมีส่วนร่วมจากภาคเอกชนอย่างชัดเจน ขณะที่ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จ ประกอบด้วย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นำ การยอมรับ งบประมาณ นโยบาย การมีส่วนร่วมของสมาชิก อปท.

References

กรมการปกครอง. (2566). สถิติประชากรรายจังหวัด. สืบค้นจาก https://stat.bora.dopa.go.th/StatMIS/#/ReportStat/3.

ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. (2557). ทฤษฎีองค์การสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: แซทโฟร์พริ้นติ้ง.

ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. (2558). ทฤษฎีองค์การ: มุมมองต่างกระบวนทัศน์. กรุงเทพฯ: แซทโฟร์พริ้นติ้ง.

Bergmann, A., Stechemesser, K., & Guenther, E. (2016). Natural Resource Dependence Theory: Impacts of Extreme Weather Events on Organizations. Journal of Business Research, 69(4), 1361-1366.

DiMaggio, P., & Powell, W. (1983). The Iron Cage Revisited: Institutional Isomorphism and Collective Rationality in Organizational Fields. American Sociological Review, 48(2), 147-160.

Dobbin, F., & Schoonhoven, C. (2010). An Organizational Sociology of Stanford's Organization Theory Renaissance. In Stanford's Organization Theory Renaissance, 1970-2000 (pp. 17-41). Warrington: Emerald Group Publishing Limited.

Dress, J., & Heugens, P. (2013). Synthesizing and Extending Resource Dependence Theory: A Meta-Analysis. Journal of Management, 39(6), 1666-1698.

Gaffney, N., Kedia, B., & Clampit, J. (2013). A Resource Dependence Perspective of EMNE FDI Strategy. International Business Review, 22(6), 1092-1100.

Gortner, H. (1981). Administration in the Public Sector. 2nd ed. New Jersey: John Wiley & Sons.

Hatch, M., & Cunliffe, L. (2013). Organizational Theory: Modern, Symbolic, and Postmodern Perspective. 3rd ed. Hampshire: Ashford Colour Press.

Hillman, A., Withers, M., & Collins, B. (2009). Resource Dependence Theory: A Review. Journal of Management, 35(6), 1404-1427.

International Association for Public Participation. (2018). IAP2 Spectrum of Public Participation. Retrieved from www.iap2.org/resource/resmgr/pillars/Spectrum_8.5x11_Print.pdf.

Lee, H., & Hashimoto, S. (2018). Governing Care Provision: A Comparative Perspective on Japan and Korea. Development and Society, 47(1), 39-61.

Lorsuwannarat, T. (2017). Public Participation in Budgeting: The New Path of Budget Reform in Thailand. International Journal of Public Administration, 40(5), 385-400.

Malatesta, D., & Smith, C. (2011). Resource Dependence, Alternative Supply Sources, and the Design of Formal Contracts. Public Administration Review, 71(4), 608-617.

Malatesta, D., & Smith, C. (2014). Lessons from Resource Dependence Theory for Contemporary Public and Nonprofit Management. Public Administration Review, 74(1), 14-25.

Pfeffer, J., & Salancik, G. (1978). The External Control of Organizations: A Resource Dependence Perspective. New York: Harper & Row.

Pugliese, A., Minichilli, A., & Zattoni, A. (2014). Integrating Agency and Resource Dependence Theory: Firm Profitability, Industry Regulation, and Board Task Performance. Journal of Business Research, 67(6), 1189-1200.

United Nations. (2017). World Population Ageing Report. New York: United Nations.

Verbruggen, S., Christiaens, J., & Milis, K. (2011). Can Resource Dependence and Coercive Isomorphism Explain Nonprofit Organizations’ Compliance with Reporting Standards?. Nonprofit and Voluntary Sector Quarterly, 40(1), 5-32.

Williamson, O. (1990). Organization Theory: From Chester Barnard to the Present and Beyond. New York: Oxford University.

World Bank Group. (2021). Caring for Thailand’s aging population. Washington, D.C.: World Bank Group.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-11-14

How to Cite

AMSUK, R., & หล่อสุวรรณรัตน์ ท. (2023). การบริหารจัดการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ. สหวิทยาการและความยั่งยืนปริทรรศน์ไทย, 12(2), 121–130. https://doi.org/10.14456/tisr.2023.11