การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมผ้าทอชาติพันธุ์ไทลื้อ ตามองค์ประกอบผลิตภัณฑ์เพื่อการท่องเที่ยวตำบลนายาง จังหวัดหลวงพระบาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
DOI:
https://doi.org/10.14456/tisr.2023.15คำสำคัญ:
รูปแบบการพัฒนาผลิตภัณฑ์, องค์ประกอบผลิตภัณฑ์, ผ้าทอชาติพันธุ์ไทลื้อ, การท่องเที่ยวหลวงพระบางบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาอัตลักษณ์ผ้าทอชาติพันธุ์ไทลื้อ พัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมผ้าทอชาติพันธุ์ไทลื้อ และประเมินรูปแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมผ้าทอชาติพันธุ์ไทลื้อ ตำบลนายาง อำเภอน้ำบาก จังหวัด
หลวงพระบาง เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากตัวแทนช่างทอผ้า ตัวแทนภาครัฐ ผู้ประกอบการ และผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 44 ราย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์ด้วยเทคนิคการสัมภาษณ์เชิงลึก และการประชุมกลุ่มย่อย วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาด้วยวิธีการพรรณนา ผลการวิจัย พบว่า 1) อัตลักษณ์ผ้าทอชาติพันธุ์ไทลื้อเป็นผ้าฝ้ายทอมือ ทอด้วยเทคนิคการขิด ย้อมด้วยสีธรรมชาติ ลวดลายผ้าทอสื่อความหมายทางธรรมชาติ คติ ความเชื่อ และความศรัทธา
2) การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ผ้าทอชาติพันธุ์ไทลื้อได้ 6 ผลิตภัณฑ์ เป็นการปรับปรุงผลิตภัณฑ์เดิมที่มีอยู่ให้ดูดีขึ้น โดยนำเอาลวดลายโบราณและเอกลักษณ์ท้องถิ่นมาใช้ 3) การประเมินการพัฒนาผลิตภัณฑ์ พบว่า ได้รูปแบบผลิตภัณฑ์ 12 รูปแบบ จาก 21 รูปแบบของ 6 ประเภทผลิตภัณฑ์ โดยให้ความสำคัญในด้านจุดเด่นผลิตภัณฑ์
ด้านประโยชน์ที่ได้รับ
References
กิติศักดิ์ เยาวนานนท์, พฤทธิ์ ศุภเศรษฐศิริ, กิตติกรณ์ นพอุดมพันธุ์ และ นพดล อินทร์จันทร์. (2562). สัญลักษณ์ไทยพวน: การศึกษาอัตลักษณ์กลุ่มวัฒนธรรมไทยพวนในเขตพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทยเพื่อแนวทางในการออกแบบ. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 21(1), 166-185.
เกษม มานะรุ่งวิทย์. (2564). สื่อสัญลักษณ์ ความเชื่อสู่อัตลักษณ์ผ้าทอไทย-ลาว. วารสารศิลปศาสตร์ (วังนางเลิ้ง) มทร. พระนคร, 1(1), 56-74.
คำนาย อภิปรัชญาสกุล. (2537). ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ: โฟกัสมีเดีย แอนด์พับลิชชิ่ง.
ณัฐธิกานต์ ปิ่นจุไร, ธนกิจ โคกทอง, ธนสิทธิ นิตยประภา และ สาวิตรี พรหมรักษา. (2564). การออกแบบ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นตามอัตลักษณ์ของชุมชน บ้านทรัพย์เจริญ ตำบลปางมะค่า อำเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกำแพงเพชร. วารสารดีไซน์เอคโค, 2(1), 34-46.
เตชิต เฉยพ่วง และ พัดชา อุทิศวรรณกุล. (2565). มรดกภูมิปัญญาของการย้อมสีด้วยคำแสดในวัฒนธรรมไทลื้อ สู่การพัฒนาสินค้า แฟชั่นและไลฟ์สไตล์ กรณีศึกษา ศูนย์ผ้าทอไทลื้อ บ้านดอนมูล อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน. วารสารศิลปกรรมศาสตร์วิชาการ วิจัย และงานสร้างสรรค์, 9(1), 160-178.
ทนงศักดิ์ กุมะณา, ทิพาภรณ์ เยสุวรรณ์ และ อุทัย มูลแก้ว. (2565). การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวของอำเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่. วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา, 13(2), 172-186.
บุษบา หินเธาว์. (2564). การพัฒนาบรรจุภัณฑ์และแผ่นพับประชาสัมพันธ์สำหรับผลิตภัณฑ์ ผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ ของกลุ่มสหกรณ์สตรีทอผ้าบ้านนาเมือง ตำบลป่าแดง อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก. วารสารวิทยาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 3(2), 61-77.
ประภาศรี ถนอมธรรม. (2561). คุณค่าอัตลักษณ์ของผ้ามัดหมี่ฟื้นเมืองของจังหวัดชัยภูมิ. รมยสาร, 16(2), 33-53.
ปิติพร ฤทธิเรืองเดช. (2561). การวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม SPSS. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.
พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2540). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
รัชนิกร กุสลานนท์, ชฎาพัศฐ์ สุขกาย และ อนันต์ แก้วตาติ้บ. (2564). การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นถิ่นเพื่อยกระดับอัตลักษณ์และเพิ่มมูลค่าสินค้าทางวัฒนธรรม ชุมชนเชียงแสน จังหวัดเชียงราย. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่, 13(1), 16-30.
รัชนีวรรณ บุญอนนท์ และ ประภัสสร กลีบประทุม. (2563). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมืองของบ้านโชคชัยพัฒนา ตำบลคลองลาน สู่ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวของอำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา, 13(2), 15-28.
รุ่งนภา พงศ์สวัสดิ์มานิต. (2559). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมเกษตร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วัลย์จรรยา วิระกุล, อุมาวรรณ วาทกิจ และ จีรนันท์ เขิมขันธ์. (2561). แนวทางการเพิ่มมูลค่าผ้าไหมมัดหมี่ที่มีประสิทธิผล เพื่อส่งเสริมคุณค่าตราสินค้าของวิสาหกิจชุมชนในเขตอำเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิทยาดุสิตธานี, 12(3), 532-547.
ศลิษา ภมรสถิตย์. (2561). การจัดการคุณภาพและการเพิ่มผลผลิต. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อัญชลี เท็งตระกูล, พัทธมน บุณยราศรัย, นิศารัตน์ ไชยวงศ์ศักดา และ ศรายุทธ สาคร. (2566). การพัฒนาและออกแบบชุดแฟชั่นผ้าทอของกลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อ อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย. วารสารบัญชีปริทัศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 8(1), 18-31.
Altugan, A. (2015). The Relationship Between Cultural Identity and Learning. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 186, 1159-1162.
Culture and Tourism. (2021a). Annual Report on Tourism Development in Luang Prabang Province. Luang Prabang: Culture and Tourism.
Culture and Tourism. (2021b). Statistic Report on Tourism in Laos, Department of Tourism Development. Vientiane: Culture and Tourism.
Kotler, P., Kartajaya, H., & Setiawan, I. (2019). Marketing 3.0: From Products to Customers to the Human Spirit. In K. Kompella. (ed.). Marketing Wisdom (pp. 139-156). Singapore: Springer.
Nanyang Sub-District. (2019). Annual Report of Nanyang Sub-District 2019. Nambak District: Nanyang Sub-District.
Patoumxay, S., & Soukhaseum, C. (2020). Guideline for Physical Development by Community Participation for Sustainable Tourism, Case Studies: Nanyang Tai Village, Nambak District, Luang Prabang Province. Luang Prabang: Souphanouvong University.
Saleumsack, M. (2017). The Production of Souvenir for Tourist of Nanyang Neua Villagers, Nambak District Luang Prabang Province. Master of Art Thesis, National University of Laos.
Usborne, E., & Taylor, D. (2010). The Role of Cultural Identity Clarity for Self-Concept Clarity, Self-Esteem, and Subjective Well-Being. Personality and Social Psychology Bulletin, 36(7), 883-897.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 Authors
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.