การวิจัยผสานวิธีเพื่อพัฒนาสมรรถนะการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้า ด้วยโปรแกรมการเรียนรู้สถานการณ์จำลองของนักศึกษาพยาบาล

ผู้แต่ง

  • บุปผา ใจมั่น สถาบันพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • นริสรา พึ่งโพธิ์สภ สถาบันพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • ฐาศุกร์ จันประเสริฐ สถาบันพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

DOI:

https://doi.org/10.14456/tisr.2023.5

คำสำคัญ:

สมรรถนะ, การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้า, นักศึกษาพยาบาล, โปรแกรมการเรียนรู้สถานการณ์จำลอง

บทคัดย่อ

การวิจัยผสานวิธีแบบแทรกแซงนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ทำความเข้าใจสมรรถนะการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าและวิธีการพัฒนาสมรรถนะจากมุมมองของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 2) ศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการเรียนรู้สถานการณ์จำลอง และ 3) ศึกษาผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรม ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้า ประกอบด้วย ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ ประสิทธิผลของโปรแกรม พบว่า กลุ่มทดลองมีสมรรถนะการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้า หลังการทดลอง และติดตามผลหลังทดลอง 4 สัปดาห์ สูงกว่ากลุ่มควบคุมที่ระดับ .01 และมีความคงทนหลังสิ้นสุดการทดลอง 4 สัปดาห์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 กลุ่มทดลองมีการเปลี่ยนแปลงสมรรถนะในระดับมากทั้ง 3 ด้าน ทั้งก่อให้เกิดการตระหนักรู้ในตนเอง และมีความใส่ใจต่อบุคคลอื่นมากขึ้น

References

ดาราวรรณ ต๊ะปินตา. (2556). ภาวะซึมเศร้า: การบำบัดและการให้คำปรึกษาโดยการปรับความคิดและพฤติกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. เชียงใหม่: วนิดาการพิมพ์.

ทิศนา แขมมณี. (2561). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 22. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นภา พวงรอด. (2558). การศึกษาภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุในจังหวัดนนทบุรี. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2(1), 63-74.

นริสา วงศ์พนารักษ์ และ สายสมร เฉลยกิตติ. (2557). ภาวะซึมเศร้า: ปัญหาสุขภาพจิตสำคัญในผู้สูงอายุ. วารสารพยาบาลทหารบก, 15(3), 24-31.

ประสบสุข ศรีแสนปาง. (2561). ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ: ความลุ่มลึกในการพยาบาล. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ, 41(1), 129-140.

วงเดือน สุวรรณคีรี, อรพิน จุลมุสิ, ทยุตา อินทร์แก้ว, ฐิติอาภา ตั้งค้าวานิช และ สุจินต์ เรืองรัมย์. (2560). ความพึงพอใจและความเชื่อมั่นในตนเองในการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตของนิสิตพยาบาลที่เรียนโดยใช้สถานการณ์จำลอง. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, 11(3), 167-177.

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์. (2560). หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2560). อุบลราชธานี: วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์.

วิรมณ กาสีวงศ์, ทัศนีย์ บุญเติม และ อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย. (2558). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้า. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ, 8(2), 189-195.

วิรมณ กาสีวงศ์ และ สุประวีณ์ คงธนชโยพิทย์. (2561). อุปสรรคการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าในชุมชน. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, ฉบับการประชุมวิชาการครบรอบ 25 ปี, 164-172.

สมจิตต์ สินธุชัย และ กันยารัตน์ อุบลวรรณ. (2560). การเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง: การนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน. วารสารพยาบาลทหารบก, 18(1), 29-38.

สายฝน เอกวรางกูร. (2554). รู้จัก เข้าใจ ดูแล ภาวะซึมเศร้า. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ส. เอเชียเพลส.

สุทธานันท์ กัลกะ, ขวัญตา ภูริวิทยาธีระ และ ปนิดา พุ่มพุทธ. (2556). เจตคติของนักศึกษาต่อการใช้สื่อภาพยนตร์ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิต. รามาธิบดีพยาบาลสาร, 19(1), 102-113.

Aldhafeeri, F., & Alosaimi, D. (2020). Perception of Satisfaction and Self-Confidence with High Fidelity Simulation Among Nursing Students in Government Universities. Journal of Education and Practice, 11(11), 137-149.

Arrue, M., de Alegría, B., Zarandona, J., & Cillero, I. (2017). Effect of a PBL Teaching Method on Learning about Nursing Care for Patients with Depression. Nurse Education Today, 52, 109-115.

Arthur, A., Savva, G., Barnes, L., Borjian-Boroojeny, A., Dening, T., Jagger, C., Matthews, F., Robinson, L., & Brayne, C. (2020). Changing Prevalence and Treatment of Depression Among Older People Over Two Decades. The British Journal of Psychiatry, 216(1), 49-54.

Barker, S., Heaslip, V., & Chelvanayagam, S. (2014). Addressing Older People’s Mental Health Need in the Community Setting. British Journal of Community Nursing, 19(5), 234-238.

Biddulph, J., Iliffe, S., Kharicha, K., Harari, D., Swift, C., Gillmann, G., & Stuck, A. (2014). Risk Factors for Depressed Mood amongst a Community Dwelling Older Age Population in England: Cross-Sectional Survey Data from the PRO-AGE Study. BMC Geriatrics, 14, 5.

Bland, A., Topping, A., & Wood, B. (2011). A Concept Analysis of Simulation as a Learning Strategy in the Education of Undergraduate Nursing Students. Nurse Education Today, 31(7), 664-670.

Borglin, G., Räthel, K., Paulsson, H., & Forss, K. (2019). Registered Nurses Experiences of Managing Depressive Symptoms at Care Centres for Older People: A Qualitative Descriptive Study. BMC Nursing, 18, 43.

Cant, R., & Cooper, S. (2010). Simulation-Based Learning in Nurse Education: Systematic Review. Journal of Advanced Nursing, 66(1), 3-15.

Herron, J., & Mitchell, A. (2018). Depression and Antidepressant Prescribing in the Elderly. Prescriber, 29(3), 12-17.

Jeffries, P. (2005). A Framework for Designing, Implementing, and Evaluating: Simulations Used as Teaching Strategies in Nursing. Nursing Education Perspectives, 26(2), 96-103.

Kolb, D. (1984). Experiential Learning: Experience as the Source of Learning and Development. New Jersey: Prentice-Hall.

Lewis, R., Strachan, A., & Smith, M. (2012). Is High Fidelity Simulation the Most Effective Method for the Development of Non-Technical Skills in Nursing? A Review of the Current Evidence. The Open Nursing Journal, 6, 82-89.

Mackin, R., & Arean, P. (2005). Evidence-Based Psychotherapeutic Interventions for Geriatric Depression. Psychiatric Clinics of North America, 28(4), 805-820.

Maneejak, N., & Yasri, P. (2018). Nursing Students’ Perception toward High Fidelity Simulation. PSAKU International Journal of Interdisciplinary Research, 7(2), 104-111.

Mirkena, Y., Reta, M., Haile, K., Nassir, Z., & Sisay, M. (2018). Prevalence of Depression and Associated Factors among Older Adults at Ambo Town, Oromia Region, Ethiopia. BMC Psychiatry, 18, 338.

Murray, J., Banerjee, S., Byng, R., Tylee, A., Bhugra, D., & Macdonald, A. (2006). Primary Care Professionals’ Perception of Depression in Older People: A Qualitative Study. Social Science & Medicine, 63(5), 1363-1373.

Pasquale, S. (2013). Education and Learning Theory. In A. Levine, S. DeMaria, A. Schwartz, & A. Sim. (eds.). The Comprehensive Textbook of Healthcare Simulation (pp. 51-55). New York: Springer.

Polacsek, M., Boardman, G., & McCann, T. (2021). A Theory on the Components of Depression Self-Management in Older Adults. Qualitative Health Research, 31(1), 160-171.

Spencer, L., & Spencer, S. (1993). Competence at Work: Models for Superior Performance. New Jersey: John Wiley & Sons Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-11-09

How to Cite

jaimun, buppha, พึ่งโพธิ์สภ น., & จันประเสริฐ ฐ. (2023). การวิจัยผสานวิธีเพื่อพัฒนาสมรรถนะการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้า ด้วยโปรแกรมการเรียนรู้สถานการณ์จำลองของนักศึกษาพยาบาล. สหวิทยาการและความยั่งยืนปริทรรศน์ไทย, 12(2), 49–63. https://doi.org/10.14456/tisr.2023.5