กลยุทธ์ของสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออกของประเทศไทย
DOI:
https://doi.org/10.14456/jirgs.2023.23คำสำคัญ:
กลยุทธ์, สถานประกอบ, การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ, การท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออกบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากลยุทธ์ของสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออกของประเทศไทย 2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออกของประเทศไทย และ 3) ศึกษากลยุทธ์ในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออกของประเทศไทย ผลการศึกษาพบว่า 1) กลยุทธ์ของสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก ประกอบด้วย 18 กลยุทธ์ 2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก ประกอบด้วย 24 ปัจจัย และ 3) กลยุทธ์ในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก ประกอบด้วย 13 กลยุทธ์ ในขณะเดียวกันก็มีข้อเสนอแนะสำหรับภาครัฐ 4 ประเด็น และมีข้อเสนอแนะสำหรับผู้ประกอบการอีก 9 ประเด็น
References
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2560). ยุทธศาสตร์สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา พ.ศ.2560-2564. สืบค้นจาก www.mots.go.thdownload/article/ article_20171201174404.pdf.
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2561). รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 (ครั้งที่ 1). สืบค้นจาก www.lamphun.go.th/uploads/18/2020-04/8668754ac69e539bc3f87e067cd2337a.pdf.
กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา. (2565). สถานการณ์การท่องเที่ยวเดือนมกราคม 2565. กรุงเทพฯ: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2563). 9 แนวโน้มใหม่ในอนาคตการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.
จินตนา สุริยะศรี. (2564). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออุปสงค์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 3(3), 67-83.
จุไรรัตน์ ฉิมพาลี. (2563). คุณภาพการให้บริการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในแหล่งน้าพุร้อนธรรมชาติ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 6(3), 1-14.
ชิดชม กันจุฬา. (2563). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวเมืองรองของนักท่องเที่ยวชาวไทย กรณีศึกษาจังหวัดอ่างทอง. วารสารเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวสู่ความยั่งยืน, 2(2), 64-80.
ฐมจารี ปาลอภิไตร และ ณัฐพร อิฐสุวรรณ กัง. (2564). พฤติกรรมและปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยในเมืองพัทยาต่อการใช้บริการสปาเพื่อสุขภาพ. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี, 17(4), 69-79.
นภาพร จันทร์ฉาย. (2563). ความเชื่อมั่นของนักท่องเที่ยวต่อคุณภาพธุรกิจบริการเชิงสุขภาพ. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
ปิยธิดา ศรีพล, รัชดา ภักดียิ่ง และ วรวิช โกวิทยากร. (2562). กลยุทธ์การตลาดของธุรกิจท่องเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 19(1), 123-132.
พิชัย ชลวิหารพันธ์ และ ปภาภรณ์ ชุณหชัชราชัย. (ม.ป.ป.). ตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ โอกาสทองของไทย. สืบค้นจาก www.atta.or.th/?p=3882.
ภักดี กลั่นภักดี, อัศวิน แสงพิกุล และ ศิริเดช คำสุพรหม. (2563). การพัฒนาธุรกิจสถานประกอบการสปาเพื่อสุขภาพระดับสากลในประเทศไทยสู่ความยั่งยืน. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 29(6), 1147-1156.
เมธี จั่นเทศ, ณัฐกานต์ แหวนเพ็ชร และ สุทิวัส สร้อยทอง. (2563). การศึกษาศักยภาพอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในประเทศไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, 10(2), 27-33.
วชิรา รินทร์ศรี และ ลักษมี งามมีศรี. (2561). สื่อประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของผู้สูงอายุ จังหวัดนครสวรรค์. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 8(3), 67-81.
ศันสนีย์ กระจ่างโฉม และ กรวรรณ สังขกร. (2563). พฤติกรรมและความต้องการของนักท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพชาวไทยและชาวต่างชาติในภาคเหนือตอนบน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 40(1), 57-76.
ศิริภา จิตผ่อง. (2561). สภาพปัญหาความปลอดภัยระหว่างการท่องเที่ยวที่มีผลต่อการใช้บริการการท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานครของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ. การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สิริกันต์ สิทธิไทย. (2564). กลยุทธ์การบริหารจัดการธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพชุมชนในรูปแบบการพำนักระยะยาว (Long Stay Wellness Tourism) เพื่อความยั่งยืนและเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน. การค้นคว้าอิสระ การจัดการมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล.
สุติมา อ่อนแก้ว. (2563). กลยุทธ์การพัฒนาการท่องเที่ยว เพื่อขยายตลาดการท่องเที่ยวนักท่องเที่ยวชาวจีนอย่างมีประสิทธิผล: กรณีศึกษาเขตพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 14(2), 273-289.
อุษณีย์ ผาสุข และ ดวงดาว โยชิดะ. (2562). ปัจจัยผลักดันและดึงดูดที่มีผลต่อนักท่องเที่ยวสูงวัยชาวญี่ปุ่นในการเดินทางท่องเที่ยวประเทศไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธนบุรี, 14(1), 114-124.
Bluebik. (2564). Strategy Level ระดับกลยุทธ์ทั้ง 3 ระดับ. สืบค้นจาก https://bluebik.com/th/blogs/3027.
Lee, H. (2019). UNWTO Workshop on Product, People, and Policy: Understanding the Success of Asian Tourism. Retrieved from www.unwto.org/asia/event/unwto-workshop-product-people-and-policy-understanding-success-asian-tourism.
Saunders, M., Lewis, P., & Thornhill, A. (2009). Research Methods for Business Students. 5th ed. London: Pearson Education.
United Nations. (2019). UN World Urbanization Prospects (2018). New York: United Nations.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 Authors
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.