ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อประสิทธิผลทางธุรกิจอุตสาหกรรม ในเขตส่งเสริมอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล ประเทศไทย
DOI:
https://doi.org/10.14456/jirgs.2023.29คำสำคัญ:
ปัจจัยเชิงสาเหตุ, ประสิทธิผลทางธุรกิจ, เขตส่งเสริมอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัลบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อประสิทธิผลทางธุรกิจอุตสาหกรรมในเขตส่งเสริมอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล 2) ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลทางธุรกิจอุตสาหกรรม และ 3) พัฒนารูปแบบประสิทธิผลทางธุรกิจอุตสาหกรรม ผู้วิจัยได้ใช้เทคนิคการวิจัยเชิงปริมาณเป็นหลัก ผู้วิจัยได้ดำเนินการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพเพิ่มเติมด้วยเทคนิคการสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มเป้าหมาย โดยการวิเคราะห์โมเดลความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรปัจจัยที่เป็นสาเหตุ ได้แก่ ปัจจัยด้านด้านนโยบายการสนับสนุนของรัฐบาล ด้านคุณลักษณะของผู้ประกอบการ ด้านมุ่งเน้นการตลาด ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ด้านการวัดผลดำเนินการขององค์กรและด้านประสิทธิผลองค์กร และปัจจัยที่เป็นตัวแปรตาม ได้แก่ ด้านการเติบโตขององค์กร ด้านการทำกำไร ด้านผลตอบแทน ด้านความมั่นทางธุรกิจ ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อทำการเปรียบเทียบถึงความกลมกลืนระหว่างโมเดลที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ค่าดัชนีวัดความกลมกลืน (GFI) มีค่าเท่ากับ 1.000 ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) มีค่าเท่ากับ 0.9680 ซึ่งมีค่าเข้าใกล้ 1 และค่าดัชนีรากกำลังสองเฉลี่ยของส่วนที่เหลือ (RMR) มีค่าเท่ากับ 0.02104 ซึ่งเข้าใกล้ศูนย์
References
กัสมา กาซ้อน, ธีรศักดิ์ กัญจนพงศ์ และ นพพร ศรีวรวิไล. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อต้นทุนทางธุรกิจของบริษัทโลจิสติกส์ในภาคกลางของประเทศไทย. วารสารวิชาการการตลาด และการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 5(1), 28-42.
การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. (ม.ป.ป.). นิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. สืบค้นจาก www.ieat.go.th/th/estates.
ปรารถนา หลีกภัย และ เกิดศิริ เจริญวิศาล. (2555). ผลของการมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการ การมุ่งเน้น ตลาด และการมุ่งเน้นการเรียนรู้ ที่มีต่อความสามารถทางนวัตกรรมองค์กร. วารสารวิทยาการจัดการ, 29(1), 77-90.
วัชรพันธ์ ผาสุข. (2558). อิทธิพลของการมุ่งเน้นการตลาดต่อผลการดำเนินงานของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมไทย. การค้นคว้าอิสระ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยปทุมธานี.
วิภาวี เนาวรังษี. (2557). ปัจจัยความสำเร็จของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม SMEs ในอุตสาหกรรมเกษตร ภาคการค้าในจังหวัดฉะเชิงเทรา. การค้นคว้าอิสระ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
สุธาทิพย์ จันทร์เจริญผล และ วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2558). คุณลักษณะของการเป็นผู้ประกอบการและลักษณะของสถานประกอบการ ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของประเทศไทย. วารสารสุทธิปริทัศน์, 28(85), 61-79.
สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2564). SMEs กับเศรษฐกิจของประเทศ. สืบค้นจาก https://opendata.nesdc.go.th/group/group008.
อนุวัต สงสม. (2562). ผลของความสามารถทางนวัตกรรมที่มีต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดสงขลา. Veridian E-Journal Humanities Social Sciences and Arts, 12(3), 821-835.
Adam, M., & Tabrani, M. (2016). The Impact of Market Orientation, Brand Image and Internal Marketing on Brand Orientation and Strengthening Br. A paper presented at the 25th International Academic Conference, OECD Headquarters, Paris.
Andaç, A., Akbiyuk, F., & Karkar, A. (2016). Customer satisfaction factor in digital content marketing: Isparta Province as an example. International Journal of Social Science Studies, 4(5), 124-135.
Anderson, J., & Gerbing, D. (1984). The effect of sampling error on convergence, improper solutions, and goodness-of-fit indices for maximum likelihood confirmatory factor analysis. Psychometrika, 49, 155-173.
Barney, J. (1991). Firm Resources and Sustained Competitive Advantage. Journal of Management, 17(1), 99-120.
Gunday, G., Ulusoy, G., Kilic, K., & Alpkan, L. (2011). Effects of innovation types on firm performance. International Journal of Production Economics, 133(2), 662-676.
Lee, Y., Kim, S., Seo, M., & Hight, S. (2015). Market orientation and business performance: Evidence from franchising industry. International Journal of Hospitality Management, 44, 28-37.
Lun, Y., Shang, K., Lai, K., & Cheng, T. (2016). Examining the influence of organizational capability in innovative business operations and the mediation of profitability on customer satisfaction: An application in intermodal transport operators in Taiwan. International Journal of Production Economics, 171(2), 179-188.
Porter, M., & Kramer, M. (2006). Strategy & Society: The Link Between Competitive Advantage and Corporate Social Responsibility. Retrieved from https://hazrevista.org/wp-content/uploads/strategy-society.pdf.
Schueffel, P. (2014). The Effects of Entrepreneurial Orientation on Innovation Performance, Open Innovation Proclivity and Openness. A paper presented at the Academy of Management Annual Conference 2014, Philadelphia, United States.
Schumacker, R., & Lomax, R. (2010). A Beginner's Guide to Structural Equation Modeling. 3rd ed. New York: Routledge.
Vora-Sittha, P. (2012). Governance and poverty reduction in Thailand. Modern Economy, 3, 487-497.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 Authors
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.