การเมืองมโนทัศน์
DOI:
https://doi.org/10.14456/jirgs.2023.21คำสำคัญ:
การเมืองเชิงมโนทัศน์, รัฐศาสตร์, ผลงานการเมืองบทคัดย่อ
บทความมีจุดประสงค์การวิจัยเพื่อพัฒนาแนวคิดการเมืองเชิงมโนทัศน์ ซึ่งใช้วิธีการวิจัยเชิงเอกสาร เป็นระยะเวลา 12 ปี เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลประวัติศาสตร์สาขาวิชาทางรัฐศาสตร์ แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐศาสตร์ วิธีการจัดการเรียนการสอนทางรัฐศาสตร์ และการนำเสนอผลงานทางรัฐศาสตร์ ผลการศึกษาพบว่า นักรัฐศาสตร์ควรปรับเปลี่ยนมุมมองที่เริ่มต้นจากการประยุกต์ใช้แนวคิดเพื่ออธิบายปรากฎการณ์ทางการเมืองเป็นการตั้งต้นว่าแนวคิดคือผลงานทางรัฐศาสตร์ จากนั้นนักรัฐศาสตร์จึงคิดแผนการหรือออกแบบวิธีการ กระบวนการ หรือสร้างผลงานที่จะทำให้ผู้ศึกษาเกิดผลงาน “การเมืองมโนทัศน์” ในจิตใจของผู้ศึกษา
References
กมล โพธิเย็น. (2564). Active Learning: การจัดการเรียนรู้ที่ตอบโจทย์การจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 19(1), 11-28.
ชัชพันธุ์ ยิ้มอ่อน. (2553). การวิพากษ์รัฐศาสตร์แนวพฤติกรรมศาสตร์ตามกรอบแนวคิดของฮาเบอร์มาส. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชัชพันธุ์ ยิ้มอ่อน. (2564). การแปลงมโนทัศน์ทางการเมืองเพื่อสร้างชาติไทยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์, 11(1), 39-48.
ไชยันต์ ไชยพร. (2560). จอน เอลสเตอร์ กับทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผล. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: หจก. ภาพพิมพ์.
อนุสรณ์ ลิ่มมณี. (2543). พัฒนาการ แนวคิด และวิธีการศึกษาทางรัฐศาสตร์. ใน หลักและวิธีการศึกษาทางรัฐศาสตร์ (น. 1-40). นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
อุทัยทิพย์ เจี่ยวิวรรธน์กุล. (2553). การวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม แนวคิด หลักการและบทเรียน. กรุงเทพฯ: พี.เอ.ลิฟวิ่ง.
Alberro, A. (2003). Conceptual Art and the Politics of Publicity. Massachusetts: The MIT Press.
Haxthausen, C. (2014). Thinking About Wall Drawings: Four Notes on Sol LeWitt. Australian and New Zealand Journal of Art, 14(1), 42-57.
Leuthold, S. (1999). Conceptual Art, Conceptualism, and Aesthetic Education. Journal of Aesthetic Education, 33(1), 37-47.
LeWitt, S. (1961). Wall Drawing #1180. Retrieved from https://artgallery.yale.edu/collections/objects/236945.
LeWitt, S. (1967). Paragraphs on conceptual art. Artforum, 5(10), 79-83.
Smith, T. (2017). One and Five Ideas: On Conceptual Art and Conceptualism. North Carolina: Duke University Press.
Wivel, A. (2019). Security Dilemma. Retrieved from www.britannica.com/topic/security-dilemma.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 Authors
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.