แนวทางการจัดการแบบมีส่วนร่วมในการจัดการขยะอย่างยั่งยืน ของชุมชนรอบนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร

ผู้แต่ง

  • วรวุฒิ ตั้งประดิษฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
  • ศุภวัฒน์ สุขะปรเมษฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
  • ฐิติมา โห้ลำยอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
  • วิวัฒน์ กรมดิษฐ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

DOI:

https://doi.org/10.14456/jirgs.2023.2

คำสำคัญ:

แนวทางการจัดการขยะ, การมีส่วนร่วม, นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร

บทคัดย่อ

การศึกษาเรื่องแนวทางการจัดการแบบมีส่วนร่วมในการจัดการขยะอย่างยั่งยืนของชุมชนรอบนิคมอุตสาหกรรมอมตะนครเป็นระดับพื้นที่ใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงพัฒนางานด้านการบริหารจัดการขยะ โดยการพัฒนาแผนงานหรือโครงการสร้างกิจกรรมให้ชุมชนให้เกิดความรู้การปลูกจิตสำนึกการสร้างความตระหนักและให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะอย่างยั่งยืน เพื่อลดผลกระทบทางสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการตกค้างของขยะ ซึ่งสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยในครั้งนี้ ไปพิจารณาปรับใช้ในการบริหารจัดการขยะตามบริบทได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถนำแนวทางการมีส่วนร่วมจัดการขยะมูลฝอยรอบนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร มาใช้เป็นระดับนโยบาย ในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหน่วยงานราชการ หน่วยงานเอกชน สามารถนำข้อมูลเพื่อเป็นแนวทางในการนำไปสู่การผลักดันนโยบายเกี่ยวกับการจัดการขยะในครัวเรือน โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนอย่างเหมาะสมกับบริบทชุมชนอย่างยั่งยืนและเป็นต้นแบบในการพัฒนาชุมชนรอบนิคมอุตสาหกรรมต่างๆ ต่อไป

References

กรมควบคุมมลพิษ. (2557). มาตรการและแนวทางการแก้ไขปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย. กรุงเทพฯ: กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

กรมควบคุมมลพิษ. (2559). แผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ.2559-2564). กรุงเทพฯ: กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

กรมควบคุมมลพิษ. (2561). รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทยปี 2560. กรุงเทพฯ: กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

กรมควบคุมมลพิษ. (2562). เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ ”ความร่วมมือในการดำเนินงานด้านการจัดการขยะมูลฝอย”. กรุงเทพฯ: กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

กรมควบคุมมลพิษ. (2563). สรุปสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย พ.ศ.2562. กรุงเทพฯ: กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

กรมควบคุมมลพิษ. (2564). สรุปสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย พ.ศ.2563. กรุงเทพฯ: กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2564). แผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน ”จังหวัดสะอาด” ตามแนวทางประชารัฐ ประจำปี พ.ศ.2564. กรุงเทพฯ: กระทรวงมหาดไทย.

จันจิรา มงคล. (2555). การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2. การค้นคว้าอิสระ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน). (2563). รายงานผลการดำเนินการประจำปี 2562 ของบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน). กรุงเทพฯ: บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน).

พรรณี ปานเทวัญ. (2560). ทฤษฎีความสามารถของตนเองกับการเลิกสูบบุหรี่. วารสารพยาบาลทหารบก, 18(3), 35-43.

ภาสิต ศิริเทศ และ ณพวิทย์ ธรรมสีหา. (2562). ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตนเองกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ. วารสารพยาบาลทหารบก, 20(2), 58-65.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2562). การจัดการขยะมูลฝอยในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

อรรครา ธรรมาธิกุล. (2558). การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างพลังอำนาจผู้สูงอายุเพื่อพัฒนาชุมชน. การค้นคว้าอิสระ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อัจฉราภรณ์ ทวีสิน. (2553). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนด้านสิ่งแวดล้อม กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบลบางสีทอง อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี. การค้นคว้าอิสระ รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Boissevain, J. (1974). Friends of Friends: Network, Manipulators and Coalitions. Oxford: Basil Blackwell.

Hoornweg, D., & Bhada-Tata, P. (eds.). (2012). WHAT A WASTE A Global Review of Solid Waste Management. Washington, D.C.: The World Bank.

United Nations Environment Programme. (2017). ASIA Waste Management OUTLOOK. Nairobi: United Nations Environment Programme.

World Health Organization. (2015). Waste and human health: Evidence and needs. Retrieved from www.who.int/iris/bitstream/handle/10665/354227/WHO-EURO-2015-5441-45206-64594-eng.pdf?sequence=1&isAllowed=y.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-05-18

How to Cite

Tangpradit, W., สุขะปรเมษฐ ศ., โห้ลำยอง ฐ., & กรมดิษฐ์ ว. (2023). แนวทางการจัดการแบบมีส่วนร่วมในการจัดการขยะอย่างยั่งยืน ของชุมชนรอบนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร. สหวิทยาการและความยั่งยืนปริทรรศน์ไทย, 12(1), 19–33. https://doi.org/10.14456/jirgs.2023.2