การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะ ด้านการสื่อสารภาษาไทย หมวดวิชาศึกษาทั่วไป สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี
DOI:
https://doi.org/10.14456/jirgs.2023.19คำสำคัญ:
รูปแบบการเรียนการสอน, สมรรถนะด้านการสื่อสารภาษาไทย, หมวดวิชาศึกษาทั่วไปบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบของรูปแบบและสมรรถนะด้านการสื่อสารภาษาไทย หมวดวิชาศึกษาทั่วไป นำมาพัฒนา และศึกษาประสิทธิผลรูปแบบการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบของรูปแบบการเรียนการการสอนประกอบด้วย หลักการ วัตถุประสงค์ เนื้อหาสาระ กระบวนการจัดการเรียนรู้ 2) รูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นมี 5 ขั้นตอน คือ สร้างแรงบันดาลใจ ให้องค์รวมของความรู้ นำสู่ประสบการณ์เฉพาะ เจาะประเมินให้ครบถ้วน และทวนผลการเรียนรู้ 3) ประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนแบ่งเป็นสมรรถนะ 3 ภาค คือ สมรรถนะภาคทฤษฎี สมรรถนะภาคปฏิบัติ และสมรรถนะภาคคุณลักษณะ สรุปผลสัมฤทธิ์จากการวัดและประเมินผลสมรรถนะระหว่างเรียนและการทดสอบก่อน/หลังเรียนได้ประสิทธิผลตามเกณฑ์มาตรฐาน E1/E2 ที่ 86.10/87.33 ซึ่งกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 85/85 จากการเปรียบเทียบผลการทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
References
เกศินี จุฑาวิจิตร. (2542). การสื่อสารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น. นครปฐม: สถาบันราชภัฏนครปฐม.
ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2556). การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 5(1), 7-20.
ชัยฤทธิ์ โพธิสุวรรณ. (2544). การศึกษาผู้ใหญ่: ปรัชญาตะวันตกและการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ณรงค์วิทย์ แสนทอง. (2550). มารู้จัก Competency กันเถอะ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: บริษัท เอช อาร์ เซ็นเตอร์ จำกัด.
ทิศนา แขมมณี. (2554). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้. พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประยุทธ์ ปยุตฺโต. (2552). การศึกษาทั่วไปเพื่อพัฒนามนุษย์. กรุงเทพฯ: ศูนย์บริหารจัดการวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ปิยสุดา ขัติยะวรา. (2545). การกำหนดขีดความสามารถของนักบริหารทรัพยากรมนุษย์ในด้านผลประโยชน์และสวัสดิการ: กรณีศึกษาธนาคารพาณิชย์ไทย. การค้นคว้าอิสระ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒน บริหารศาสตร์.
พรพร โยธาวงษ์. (2561). ผลสัมฤทธิ์จากการเรียนแบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับการสอนแบบบรรยายในวิชาการจัดการฟาร์ม ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีฟาร์ม. วารสารปัญญาภวัฒน์, 10(ฉบับพิเศษ), 252-261.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2562). กลยุทธ์การสอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต. (2550). ทฤษฎีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สวนดุสิตโพล. (2561). ประชาชนคิดอย่างไร? กับ การใช้ภาษาไทย ณ วันนี้. สืบค้นจาก www.ryt9.com/s/sdp/2863691.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2559). แผนยุทธศาสตร์การพัฒนานิสิต นักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา (พ.ศ.2560-2564). สืบค้นจาก www.rmutto.ac.th/newspost/attachment/TR3332_235443.pdf.
สำลี รักสุทธี. (2546). คู่มือการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ตามเกณฑ์ใหม่ของ ก.ค. บูรณาการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญผลที่เกิดกับผู้เรียน. กรุงเทพฯ: เพิ่มทรัพย์การพิมพ์.
Anderson, L., & Krathwohl, D. (2001). A Taxonomy for Learning Teaching and Assessing a Revision of Bloom’s Taxonomy of Educational Objective. New York: Addison-Wesley Longman, Inc.
McClelland, D. (1973). Testing for Competence Rather Than for "Intelligence". American Psychologist, 28(1), 1-14.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 Authors
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.