การศึกษาผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมจากการจัดการขยะมูลฝอย: กรณีศึกษา โครงการอาคารชุดบ้านเอื้ออาทรบางโฉลง จังหวัดสมุทรปราการ

ผู้แต่ง

  • ปกรณ์เกียรติ หมื่นสิทธิโรจน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ภาวินี พงศ์พันธ์พฤทธิ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • พิสุทธิ์ เพียรมนกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ณัฐวิญญ์ ชวเลิศพรศิยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำสำคัญ:

ครัวเรือน, การวิเคราะห์การไหลของวัสดุ, การจัดการขยะมูลฝอย, การประเมินวัฏจักรชีวิต

บทคัดย่อ

ขยะมูลฝอยเป็นหนึ่งในปัญหาสาคัญด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของมนุษย์ทัว่ โลกรวมถึงประเทศไทย งานวิจัยนี้จึงศึกษาผลกระทบทางสงิ่ แวดล้อมจากการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนโดยใช้การวิเคราะห์การไหลของวัสดุ (MFA) และการประเมินวัฏชีวิต (LCA) โดยมุ่งเน้นขยะพลาสติกชนิดพอลิเอทิลีน เทเรฟทาเลต (PET) และ พอลิเอทิลีน (PE) ผลการศึกษา MFA พบว่า ในสถานการณ์ปัจจุบัน ทางชุมชนมีสัดส่วนการรีไซเคิล PET และ PE เท่ากับ 15.81 และ 2.54% ตามลำดับ และมีสัดส่วนการฝังกลบ PET และ PE เท่ากับ 84.19 และ 97.46% ตามลาดับ นอกจากนี้ มีการกาหนดสถานการณ์จา ลองสา หรับการวิเคราะห์ MFA และ LCA เพมิ่ เติม คือ ขยะทั้งหมดถูกนาไปรีไซเคิล (S1) ขยะทัง้ หมดถูกนาไปฝังกลบ (S2) ขยะทั้งหมดถูกนาไปเผา (S3) และการมีโรงคัดแยกขยะมูลฝอย (S4) ซึ่งทาให้มีสัดส่วนการรีไซเคิล PET และ PE เป็น 83.08 และ 80.49% ตามลาดับ ส่วนที่เหลือจะถูกจัดการด้วยการฝังกลบ จากผลการศึกษา LCA พบว่า S1 ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมต่าที่สุด นอกจากนี้เมื่อเปรียบเทียบระหว่าง S0 และ S4 พบว่า S4 สามารถลดผลกระทบโดยรวมได้ โดยเฉพาะด้านการทาให้เกิดภาวะโลก
ร้อน (GWP100a) ที่ลดลงถึง 1.4 เท่าของ S0 ทัง้ นี้ การดาเนินกิจการโรงคัดแยกขยะมูลฝอยต้องใช้งบประมาณสูงทำให้การคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือนจึงเป็นสิ่งสำคัญ

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-03