ผลของการใช้โปรแกรมการพัฒนาทักษะการทาวิจัย ต่อความสามารถ ในการทาวิจัยและความพึงพอใจของอาจารย์มหาวิทยาลัยรามคาแหง

ผู้แต่ง

  • ชมสุภัค ครุฑกะ คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง / Faculty of Human Resources Development, Ramkhamhaeng University, Thailand
  • ดารณี พาลุสุข คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคาแหง / Faculty of Business Administration, Ramkhamhaeng University, Thailand
  • อริสา สำรอง คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง / Faculty of Education, Ramkhamhaeng University, Thailand
  • วาสนา บุตรโพธิ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง / Faculty of Education, Ramkhamhaeng University, Thailand
  • พีสสลัลฌ์ ธำรงศ์วรกุล คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง / Faculty of Education,, Ramkhamhaeng University, Thailand

คำสำคัญ:

โปรแกรม, ความพึงพอใจ, มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ความสามารถในการทำวิจัย

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความสามารถก่อนและหลังในการทาวิจัยของอาจารย์ในมหาวิทยาลัยรามคาแหง และความพึงพอใจของอาจารย์ต่อการใช้โปรแกรมพัฒนาทักษะการทาวิจัย ของอาจารย์ในมหาวิทยาลัยรามคาแหง กลุ่มตัวอย่างคืออาจารย์มหาวิทยาลัยรามคาแหง จานวน 50 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบเกี่ยวกับความสามารถในการทาวิจัยและความพึงพอใจของอาจารย์มหาวิทยาลัยรามคาแหง มีค่าความเชื่อมั่น 0.95 และ 0.96 ตามลาดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ การหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1. อาจารย์มหาวิทยาลัยรามคาแหงมีความสามารถในการทำวิจัยหลังใช้โปรแกรมในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน 2. ผลการเปรียบเทียบคะแนนค่าเฉลี่ยความสามารถในการทาวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัยรามคาแหง โดยภาพรวม และทุกด้านหลังการใช้โปรแกรมการพัฒนาทักษะการทาวิจัยสูงกว่าก่อนการใช้โปรแกรม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. อาจารย์มหาวิทยาลัยรามคาแหงมีระดับความพึงพอใจต่อการใช้โปรแกรมพัฒนาทักษะการทาวิจัย ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-07-01