ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยจิตลักษณะและสถานการณ์ในการทา งาน ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมป้ องกันอันตรายจากการทา งาน ประเภทก่อสร้าง ของแรงงานไทย
คำสำคัญ:
ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ, ปัจจัยจิตลักษณะและสถานการณ์, พฤติกรรมป้องกันอันตรายจากการทางานบทคัดย่อ
การวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1) ศึกษาสภาพการณ์ ปัจ จัย ตัวชี้วัดพฤติกรรมป้องกันอันตรายจากการทางาน 2) วิเคราะห์ ตรวจสอบความสอดคล้องแบบจาลองความสัมพันธ์เชิงสาเหตุพฤติกรรมป้องกันอันตรายจากการทางาน ที่ผู้วิจัยสร้าง ขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ แรงงานก่อสร้างระดับไร้ฝีมือ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ตัวแปร ได้แก่ พฤติกรรมป้องกันอันตรายจากการทา งาน การรับรู้ความสามารถของตนเอง ความมีเหตุมีผล การรับรู้ความเสี่ยงสภาพ การทางาน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (IOC) อานาจจาแนก ความ เชื่อมัน่ ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง องค์ประกอบเชิงยืนยัน อิทธิพลทางตรง ทางอ้อม ทางรวม และความสอดคล้อง กบั ข้อมูลเชิงประจักษ์ ผลวิจัยพบว่า แบบจา ลองความสัมพันธ์เชิงสาเหตุมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมี ค่าสถิติไค-สแควร์ ไม่มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ค่าสถิติไค-สแควร์ต่อองศาความเป็นอิสระมากกว่า 2 ( 2 =442.07, df = 233, P-value = 0.00) ค่าดัชนีรากกาลังสองเฉลี่ยของค่าความแตกต่างโดยประมาณ (RMSEA) มีค่า เท่ากับ 0.05 ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) เท่ากับ 0.92 ดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.89 สรุปว่า ดัชนีสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ดังนั้นผู้วิจัยจึงไม่มีการปรับสมการโครงสร้าง ตัวแปร พฤติกรรมป้องกันอันตรายจากการทางานได้รับอิทธิพลทางตรงมากที่สุดจากตัวแปรเจตคติต่อพฤติกรรมป้องกัน อันตรายจากการทา งาน และได้รับอิทธิพลทางอ้อมจากตัวแปรการรับรู้ความเสี่ยงสภาพการทา งาน